กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ๑. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ ๑๐๐ ของเด็กอายุ ๐-๓ ปี ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน -ร้อยละ ๙๐ ของเด็กอายุ ๐-๓ ปี มีภาวะโภชนาการ พัฒนาการสมวัย -ร้อยละ ๑๐๐ ของเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการได้รับการรักษา ส่งต่อ
90.00

 

 

-เด็กอายุ ๐-๓ ปี ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนร้อยละ ๑๐๐





-เด็กอายุ ๐-๓ ปี มีภาวะโภชนาการสมวัยร้อยละ ๙๐
มีภาวะโภชนาการบกพร่อง ๒ คนคิดเป็นร้อยละ ๑๐ (รายละเอียดดังตาราง) เด็กอายุ ๐-๓ ปี จำนวน ๒๐ คน น้ำหนักค่อนข้างมาก  ๐ คน ร้อยละ ๐ น้ำหนักมาก        ๐ คน ร้อยละ ๐ น้ำหนักค่อนข้างน้อย  ๒ คน ร้อยละ ๑๐ น้ำหนักน้อย        ๐ คน ร้อยละ ๐

\n-เด็กอายุ ๐-๓ ปี มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ ๖๒.๕ เด็กอายุ ๐-๓ ปี จำนวน ๒๐ คน พัฒนาการปกติ  ๑๙  คน ร้อยละ ๙๕ พัฒนาการล่าช้า    ๑  คน ร้อยละ ๕ ส่งต่อ          ๐ คน ร้อยละ ๐


-เด็กที่พัฒนาการล่าช้าไม่มีการส่งต่อแต่ได้รับการกระตุ้นติดตามพัฒนาการอย่างต่อเนื่องและมีพัฒนาการดีขึ้น

2 ๒. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัด : -อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๑๐ จากค่ามัธยฐาน๕ปีย้อนหลัง -โรงเรียน/ชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ร้อยละ ๘๕ -อัตราป่วยโรคติดต่อลดลง
0.00

 

 

-ตั้งแต่เดือนเมษายน – กันยายน ๒๕๖๒ มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบจำนวน ๔ ราย -ประชาชนและผู้นำชุมชนมีความร่วมมือในการรณรงค์เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรค -ประชาชนมีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคเพิ่มขึ้นโดยสังเกตจากการขอรับทราย ทีมีฟอสเพิ่มมากขึ้น


-อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๒๕

ตารางแสดงจำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๓ ปี ย้อนหลัง ปี ๒๕๖๐ ปี ๒๕๖๑      ปี ๒๕๖๒ จำนวนผู้ป่วย ๑๖ ราย จำนวนผู้ป่วย ๔ ราย จำนวนผู้ป่วย ๗ ราย อัตราป่วย ๑๘๘.๒ ต่อแสนประชากร อัตราป่วย ๕๐.๖๔ ต่อแสนประชากร อัตราป่วย ๘๗.๒๖ ต่อแสนประชากร คิดเป็นร้อยละ ๐.๑๘ คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๕ คิดเป็นร้อยละ ๐.๐๘

ตารางแสดงค่า HI CI จำแนกรายชุมชน ชุมชน เดือน
เม.ย พ.ค. มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย HI CI HI CI HI CI HI CI HI CI HI CI ๑.ชุมชนบ้านบน ๒๐.๑ ๘.๖ ๔๗.๘ ๕.๒๔ ๒๘.๕ ๔.๓ ๓๐.๐ ๓.๗ ๓๒.๘ ๔.๗ ๓๖.๘ ๗.๒ ๒.ชุมชนดอนรัก ๓๑.๕ ๔.๙ ๓๖.๘ ๔.๕ ๓๔.๔ ๖.๗ ๓๑.๖ ๖.๐ ๒๐.๖ ๕.๓ ๒๐.๙ ๕.๕ ๓.ชุมชนเมืองเก่า ๒๙.๕ ๕.๓ ๒๕.๘ ๑๗.๐ ๒๘.๘ ๗.๗ ๒๕.๐ ๓.๙ ๒๐.๐ ๕.๑ ๒๕.๐ ๗.๒ ๔.ชุมชนมัสยิดบ้านบน ๑๙.๖ ๒.๕ ๓๕.๓ ๓.๕ ๒๓.๐ ๔.๙ ๑๖.๔ ๓.๗ ๒๖.๕ ๓.๑ ๒๕.๕ ๒.๓ ๕.ชุมชนสวนหมาก ๔๙.๐ ๔.๕ ๒๙.๐ ๕.๑ ๒๙.๔ ๕.๗ ๒๑.๔ ๖.๖ ๑๓.๗ ๗.๒ ๑๘.๗ ๖.๒ ๖.ชุมชนรพ.สงขลาเก่า ๒๖.๒ ๑๑.๒ ๑๑.๒ ๔.๙ ๓๐.๐ ๑๐.๒ ๒๕.๐ ๑๑.๙ ๑๗.๗ ๗.๓ ๑๗.๗ ๗.๐

3 ๓. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังเกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ -กลุ่มโรคเรื้อรังเบาหวานความดันที่รับการรักษาที่ PCU ได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรค ร้อยละ ๙๐ -ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนน้อยกว่าร้อยละ ๕ -ร้อยละ ๘๐ ของสตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ -ร้อยละ ๒๐ ของสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
0.00

 

 

-ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน


-สมาชิกมีสุขภาพกายและจิตอยู่ในระดับดีร้อยละ ๘๖.๒๓

4 ๔. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : -ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน -สมาชิกมีสุขภาพกายและจิตอยู่ในระดับดีมากกว่าร้อยละ ๗๐
0.00

 

 

-กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเรื้อรังได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ร้อยละ ๘๙.๙๒ -กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเรื้อรังเกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่ร้อยละ ๒.๒๘


-สตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปีสามารถตรวจเต้านมด้วยตัวเองได้ร้อยละ ๙๕.๔๒