กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 งานภาคประชาชน ๑. ประชุมชี้แจงติดตาม – ประเมินผลงานภาคประชาชน
๒. การประชุมวางแผน การดำเนินงาน ติดตามผลงาน ด้านสุขภาพ กิจกรรมที่ 2 งานอนามัยแม่และเด็ก 1. ประชาสัมพันธ์ การฝากครรภ์เร็ว มารับวัคซีนตามนัด 2. จัดสื่อการเรียนรู้ สื่อให้ความรู้วัคซีน สื่อฝากครรภ์เร็ว กิจกรรมที่ 3 งานวัยเรียน / วัยรุ่น 1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การป้องกัน รู้ทันยาเสพติดและการตั้งครรภ์ในวัยเรียน 2. กิจกรรมรณรงค์ Big cleaning Day โรคไข้เลือดออก ชิคุนกุนยา หัด มือเท้าปาก ในโรงเรียน 3. การประชาสัมพันธ์งานด้านสาธารณสุขในรูปแบบหลากหลาย สื่อต่าง ๆ ในโรงเรียน กิจกรรมที่ 4 งานควบคุมโรคไม่ติดต่อคัดกรองสุขภาพวัยทำงาน/ผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 1. การคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและการให้ความรู้ทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มปกติ เสี่ยงสูง ป่วย 2. สอนการตรวจเต้านมด้วยตนเองและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 3. ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในชุมชน 4. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงป้องกันการเกิดโรครายใหม่ 5. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและให้ความรู้ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยและผู้พิการ ๖. การจัดบริการเยี่ยมบ้าน การดูแลผู้ป่วยติดเตียง/ระยะท้าย/ผู้พิการด้อยโอกาส 7. กิจกรรมสำรวจคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพ/คุณภาพชีวิต ผู้ป่วยเรื้อรัง 8. กิจกรรมประชุมชมรมผู้ป่วยเรื้อรัง 9. ประชุมกิจกรรม SHG กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานความดัน 10.จัดฐานการเรียนรู้ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง กิจกรรมที่ 5 งานคุ้มครองผู้บริโภค 1. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การตรวจประเมินร้านอาหารขายของชำ กิจกรรมที่ 6 กลุ่มผู้พิการ ผู้ป่วยระยะสุดท้าย 1. จัดอบรมให้ความรู้เจ้าหน้าที่ในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2. จัดอบรมดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย pcu.กุโบร์ pcu.พาณิชย์ และ pcu.เตาหลวง 9. การติดตามประเมินผล

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 60 มารดาตั้งครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก 2. ร้อยละ 60 มารดาตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ตามมาตรฐาน 5 ครั้ง 3. ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ 4. ร้อยละ 93 ของเด็กอายุ 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย 5. ร้อยละ 90 ของประชาชน 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสุขภาพ 11. ร้อยละ 80 หญิงอายุ 30 – 70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง 12. ร้อยละ 20 หญิงอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 13. ร้อยละของการตั้งครรภ์หญิงอายุ 15 -19 ปีน้อยกว่า ร้อยละ 20 14. ร้อยละ 80 ของร้านอาหารที่ต้องผ่านเกณฑ์ GFGT
60.00

 

2 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
ตัวชี้วัด : 6. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเรื้อรังใหม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 7. ร้อยละ 5 ของการเกิดผู้ป่วยเรื้อรังรายใหม่ 9. ร้อยละ 5 ผู้ป่วยเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่
80.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง – ติดเตียงระยะสุดท้าย – ผู้พิการ – ผู้สูงอายุพึ่งพา – พึ่งพิง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนตายให้สมศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : 10. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ (ด้อยโอกาส) ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพ 8. ร้อยละ 90 ผู้ป่วยเรื้อรังที่รับบริการที่ PCU ได้รับการดูแลและตรวจตามมาตรฐานเฉพาะโรค
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 12606 12606
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 12,606 12,606
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อให้กลุ่มประชากรทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมทั้ง5มิติตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) 2.  เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงป้องกันเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ (3) 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรัง – ติดเตียงระยะสุดท้าย – ผู้พิการ – ผู้สูงอายุพึ่งพา – พึ่งพิง ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนตายให้สมศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh