กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก นอกจากจะเป็นปัญหาสาธารณะสุขของประเทศไทยแล้ว ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศในเขตร้อนชื้นและก่อให้เกิดความกังวลต่อผู้ปกครองเวลาเด็กมีไข้ บทความนี้จะบรรยายถึงโรคไข้เลือดออกในแง่การดูแลผู้ป่วยซึ่งมีหัวข้อดังต่อไปนี้……ไข้เลือดออกเป็นโรคติดเชื้อเกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี่นำโดยยุงลาย การติดต่อเริ่มจากผู้ป่วยไข้เลือดออก ถูกยุงลายกัด เชื้อไวรัสจะเข้าไปแบ่งตัวในลำไส้และเดินทางต่อไปยังต่อมน้ำลายชองยุง คนได้รับเชื้อจากการถูก ยุงที่มีเชื้อไข้เลือดออกกัด หากผู้รับเชื้อไม่มีภูมิคุ้มกันต่อโรคจะมีความเสี่ยงเกิดโรคไข้เลือดออก เชื้อไวรัสที่อยู่ ในกระแสโลหิตของผู้ป่วยสามารถถ่ายทอดไปยังผู้อื่นได้หากถูกยุงลายกัด ความน่ากลัวของเชื้อไข้เลือดออกคือ ยุงที่มีเชื้อสามารถแพร่เชื้อได้ตลอดอายุขัยของยุง (ระยะเวลาประมาณ 1 เดือน) และสามารถส่งต่อเชื้อไปยังไข่ ทำให้ลูกยุงเป็นพาหะของโรคได้ตั้งแต่เกิด จากเหตุผลดังกล่าวจึงทำให้โรคไข้เลือดออกเกิดการระบาดได้ง่าย หากไม่สามารถควบคุมประชากรยุงลายให้ดี โรคนี้มีอาการอย่างไร ทำไมถึงมีชื่อว่าไข้เลือดออก หลังจากได้รับเชื้อ ผู้ป่วยที่ไม่มีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไข้เลือดออกจะมีอาการป่วย
  สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี 2561 ตั้งแต่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2561 ประเทศไทยมีผู้ป่วยแล้ว 17,302 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิตที่ยืนยันแล้ว 21 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิตที่ได้รับแจ้งและอยู่ระหว่างตรวจสอบ 9 คน จากข้อมูลการป่วยและเสียชีวิตตามกลุ่มอายุ พบว่าอัตราป่วยยังคงสูงสุดในเด็กวัยเรียนอายุ 10–14 ปี รองลงมาอายุ 5-9 ปี แต่เมื่อพิจารณาการเสียชีวิตพบว่าในปี 2561 นี้ ผู้ป่วยที่เสียชีวิตมากกลับเป็นกลุ่มผู้ใหญ่อายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 14 ราย   จำนวนผู้ป่วยในจังหวัดพัทลุง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561-31 ธันวาคม 2561 พบผู้ป่วยจำนวน 632 คน อำเภอเขาชัยสน 44 คน รพ.สต.บ้านโคกยามีผู้ป่วยจำนวน 15 คน คิดเป็นอัตราป่วย 574.49/แสนประชากร(อัตราป่วยไม่เกิน 50/แสนประชากร )นับเป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่สำคัญเร่งด่วนที่ต้องได้รับการแก้ไขเพื่อลดอัตราป่วยและสร้างความตระหนักในการการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนต่อไป

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มความรู้เท่าทันสถานการณ์โรค สร้างความตระหนักให้แก่ประชาชน (2) ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ……-จัดนิทรรศการให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย หมู่ละ100 คน จำนวน 3 หมู่บ้าน. ……-เยี่ยมบ้านในกลุ่มผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในปี 2561 จำนวน 15 หลัง ให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก สาธิตการฝึกปฏิบัติการกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ