กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

แนวความคิดเรื่องวัดส่งเสริมสุขภาพ (Health Promoting Temples) จากบ้านน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ อนามัยดี ชีวีสดใสถึงองค์ประกอบของเมืองโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสถานที่ทางานน่าอยู่น่าทำงานนำพาไปสู่วัดส่งเสริมสุขภาพ เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและพัฒนาที่ยั่งยืนของครอบครัวชุมชนและสังคมไทย สุขภาพดี เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของคนไทยทุกคนเข้าถึงการมีสุขภาพดีได้อย่างแท้จริงและเท่าเทียมกันโดยรัฐมีหน้าที่กำหนดกรอบนโยบายระบบโครงสร้างกลไกกติกาการกำกับดูแลสร้างโอกาส และสนับสนุนให้ประชาชนได้รับสิทธิ์ของสุขภาพดีอย่างแท้จริงทั่วถึงและเสมอกัน
สุขภาพ หมายถึง สุขภาวะที่สมบูรณ์และมีดุลภาพทั้งกายใจสังคมและจิตวิญญาณ จึงไม่เป็นเพียงแต่การรักษาโรคแต่สุขภาพเป็นวิถีชีวิตของครอบครัวชุมชน และสังคมที่พัฒนาอย่างสมดุลระหว่างเศรษฐกิจสังคมการเมือง และสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมสุขภาพ ยึดแนวคิดการดำเนินงานด้วยการส่งเสริมนโยบายสาธารณะสุขภาพสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เพิ่มความสามารถของชุมชนพัฒนาทักษะส่วนบุคคลและการปรับให้บริการสุขภาพที่เน้นการมีสุขภาพดี ไม่ใช่รักษาโรค เพื่อให้การดำเนินงานวัดส่งเสริมสุขภาพของวัดลานช้าง มีการพัฒนาและดำเนินการต่อไปโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลานช้าง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ประชาชน พระภิกษุได้รับการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดประชุมอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ