กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ปัจจุบันระบบสุขภาพของคนไทยอยู่ในช่วงการปฏิรูปสุขภาพ จากอดีตที่ผ่านมางบประมาณด้านซ่อมสุขภาพต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นอย่างมาก โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและโรคเลือด เป็นโรคเรื้อรังที่ต้องให้ความสำคัญ พบว่ามีประชาชนที่เสี่ยงและผู้ป่วยในกลุ่มนี้เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลจำนวนเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี จากการตระหนักถึงการป้องกันการเกิดโรค การส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ซึ่งใช้ทรัพยากรหรืองบประมาณน้อยกว่าที่จะรักษาหรือซ่อมสุขภาพนั้น ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาล จึงได้จัดทำโครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่เหมาะสมของกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2562 ในกลุ่มเสี่ยงเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และทักษะการดูแลตนเอง ในผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดให้เป็นตามเกณฑ์ได้ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และมีทักษะการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และลดอัตราภาวะแทรกซ้อนจากภาวะความดันและน้ำตาลสูง ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาล จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดให้เป็นตามเกณฑ์ได้ รวมทั้งผู้ดูแล และ อสม.ที่รับผิดชอบ เพื่อให้เสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสม อันจะส่งผลให้กลุ่มเป้าหมายสามารถลดโรค และควบคุมป้องกันโรคได้

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมและพัฒนาทักษะการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (2) 2. เพื่อให้สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและ/หรือน้ำตาลสูงได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รุ่นที่ 1 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 1.1 อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงด้วยจราจรชีวิตปิงปอง 7 สี และความรู้เรื่องโภชนาการ รุ่นที่ 2 กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 1.1 อบรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ 2 ส และ ความรู้เรื่องการใช้ยา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ