กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันโรคมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับ 1 และมะเร็งปากมดลูกเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญเพราะทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต และสิ้นเปลืองงบประมาณในการให้การรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งเต้านมทำได้โดยการให้ความรู้ และให้เกิดความตระหนักในเรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เมื่อตรวจพบความผิดปกติแล้วเข้ารับการตรวจซ้ำโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อส่งเข้ารับการรักษาต่อไป และมะเร็งปากมดลูกก็ต้องค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ไห้ได้ ซึ่งจะพบว่าการตรวจคัดกรองด้วยการทำ PAP SMEAR ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 60 ปี ทำให้ค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ในระยะเริ่มแรก และผู้ป่วยที่พบในระยะเริ่มแรกทั้งมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก แล้วได้รับการส่งต่อไปพบแพทย์เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง และทันท่วงทีนั้น จะช่วยลดอัตราอัตราการเกิดโรค และอัตราตายของโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกได้ ( สถานการณ์โรคในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา ปีงบประมาณ 2561 ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ 2 ราย ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ 3 ราย )     ด้วยเหตุผลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการสตรียุคใหม่ดูแลตัวเองอย่างไรให้ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงความสำคัญ การป้องกันการเกิดโรค ลดอัตราป่วยและอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกต่อไป

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และตระหนักถึงอันตรายของโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (2) ข้อที่ 2เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (3) ข้อที่ 3 เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ และส่งต่อเข้ารับการรักษาที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ