กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก -ร้อยละ 80ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม -ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมในรอบ 5ปี -กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติทั้งโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษา 100%

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และตระหนักถึงอันตรายของโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
0.00

 

2 ข้อที่ 2เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 2.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมในรอบ 5ปี
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ และส่งต่อเข้ารับการรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติทั้งโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษา 100%
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 146
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 146
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ในปัจจุบันโรคมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับ 1 และมะเร็งปากมดลูกเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญเพราะทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต และสิ้นเปลืองงบประมาณในการให้การรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งเต้านมทำได้โดยการให้ความรู้ และให้เกิดความตระหนักในเรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เมื่อตรวจพบความผิดปกติแล้วเข้ารับการตรวจซ้ำโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อส่งเข้ารับการรักษาต่อไป และมะเร็งปากมดลูกก็ต้องค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ไห้ได้ ซึ่งจะพบว่าการตรวจคัดกรองด้วยการทำ PAP SMEAR ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 60 ปี ทำให้ค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ในระยะเริ่มแรก และผู้ป่วยที่พบในระยะเริ่มแรกทั้งมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก แล้วได้รับการส่งต่อไปพบแพทย์เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง และทันท่วงทีนั้น จะช่วยลดอัตราอัตราการเกิดโรค และอัตราตายของโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกได้ ( สถานการณ์โรคในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา ปีงบประมาณ 2561 ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ 2 ราย ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ 3 ราย )     ด้วยเหตุผลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกยา ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการสตรียุคใหม่ดูแลตัวเองอย่างไรให้ห่างไกลมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เพื่อให้สตรีในกลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงความสำคัญ การป้องกันการเกิดโรค ลดอัตราป่วยและอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกต่อไป

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และตระหนักถึงอันตรายของโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (2) ข้อที่ 2เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก (3) ข้อที่ 3 เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ และส่งต่อเข้ารับการรักษาที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh