กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. สร้างนโยบายชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย (2) 2. ทีมควบคุมโรคในชุมชนได้รับการฟื้นฟูความรู้ (3) 3. ลดปัจจัยเสี่ยงงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย       โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อร้ายแรงชนิดหนึ่งที่สามารถป้องกันได้ ซึ่งการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตเนื่องจากโรคไข้เลือดออกส่งผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในปี 2561 (ม.ค.-ธค.) มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกกระจายทั่วทั้งจังหวัดสตูลอย่างต่อเนื่องมากเป็นอันดับต้นๆของประเทศ  และพบผู้ป่วยในพื้นที่อำเภอเมืองสตูล  จากลักษณะการระบาดในอดีตกล่าวคือระบาด 2 ปีเว้น 1 ปี  และจากสถานการณ์ในต้นปี 2561 ถ้าไม่มีการดำเนินการรณรงค์ควบคุมและป้องกันอย่างจริงจังและต่อเนื่องแล้ว  คาดว่าจะเกิดการแพร่ระบาดมากขึ้น ในปี 2562       ผู้นำชุมชน  อบต. อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ได้ร่วมกันจัดการประชุมแบบมีส่วนร่วม (AIC) เพื่อแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ขึ้น ได้มีการรณรงค์สำรวจลูกน้ำยุงลาย พร้อมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย  เสนอแนวทางการแก้ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก คือ ต้องให้ประชาชนตระหนักถึงความร้ายแรงและเห็นความจำเป็นพร้อมทั้งร่วมมือป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและจริงจัง  ดังนั้นกลุ่มผู้เข้าร่วมประชุมร่วมกับรพ.สต.เจ๊ะบิลังจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกขึ้นในพื้นที่ถ้าไม่ได้รับการควบคุมและการป้องกันโรคอย่างทันท่วงทีและต่อเนื่อง จะทำให้เกิดการระบาดได้อย่างรวดเร็ว และหากมีผู้ป่วยเกิดขึ้นไม่ได้รับการวินิจฉัยและรับการรักษาอย่างถูกต้อง ก็จะทำให้เกิดการเสียชีวิตของผู้ป่วยในอัตราค่อนข้างสูง
      จากสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกดังที่กล่าวมาข้างต้นทำให้คาดการณ์ได้ว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก อาจจะมีแนวโน้มรุนแรงขึ้นกว่าในปัจจุบัน ถ้าชุมชนไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมดำเนินกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
      โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลัง ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจในครัวเรือนของชุมชน จึงได้จัดโครงการพัฒนาความรู้ การดูแลสุขภาพ เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคไข้เลือดออก สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดความเสี่ยงการเกิดโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก เน้นหนักเรื่องการควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทั้งทางกายภาพ,ชีวภาพและเคมี (2) 2. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข คณะกรรมการชุมชน และทีม SRRT

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ