กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

จากรายงานข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ การเสียชีวิตของคนไทยนั้น เกิดจากโรคมะเร็งสูงสุดเป็นอันดับหนึ่ง โดยในปีที่ผ่านมาพบว่า ผู้ชายไทยเป็นมะเร็งตับมากที่สุด ส่วนผู้หญิงไทยเป็นมะเร็งปากมดลูกมากที่สุด รองลงมาคือมะเร็งเต้านม และมะเร็งปอด ตามลำดับ สาเหตุที่ทำให้สตรีเป็นโรคมะเร็งมีหลายสาเหตุด้วยกันไม่ว่าจะเป็น กรรมพันธุ์ วิถีชีวิต การบริโภค ผู้ป่วยที่มารับการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่มักจะมาเมื่ออยู่ในระยะที่เป็นมากแล้ว ทำให้การรักษาไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร และมีค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง ซึ่งวิธีการป้องกันที่สำคัญที่สุด คือการค้นหาโรคตั้งแต่ยังไม่มีอาการ เพื่อรับการรักษาก่อนจะลุกลาม โดยให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้ ถ้าได้รับความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง การฝึกทักษะในการสังเกต และการตรวจคัดกรองค้นหาด้วยตนเอง เพื่อค้นหาความผิดปกติ ทำให้สามารถได้รับการดูแล รักษาได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ในขณะเดียวกัน กลุ่มสตรีสามารถดูแล และป้องกันตนเองจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ตั้งแต่ในระยะแรก ๆ โดยการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ทุก ๆ 5 ปี กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของการลดปัญหาสุขภาพ ได้แก่ สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพหามะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่า ร้อยละ80 ซึ่งการดำเนินงานโครงการมะเร็งปากมดลูกดังกล่าว ยังไม่บรรลุเป้าหมายเนื่องจากการประชาสัมพันธ์ที่ยังไม่ทั่วถึง กลุ่มเป้าหมายยังไม่ตระหนักถึงโทษภัยของโรคมะเร็งปากมดลูกและยังไม่เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเท่าที่ควร โดนผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองก็จะเป็นผู้ที่เข้ารับการอบรมเป็นสวนใหญ่ซึ่งต้องต้องเร่งรัดให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายตามตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขต่อไป         ทั้งนี้ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)หมู่ 2 ชุมชนบ่อหลวง ตำบลเจ๊ะบิลัง อำเภอเมืองจังหวัดสตูล ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับสตรี จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวเพื่อรณรงค์เร่งรัดให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม จัดให้มีการอบรมและสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเองในชุมชน และติดตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเจ๊ะบิลังโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อให้บรรลุเป้าหมายประชาชนมีสุขภาพดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น (2) สตรีอายุ 30-70 ปี สามารถตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะลุกลาม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อสม.ปฏิบัติการเชิงรุกโดยการลงพื้นที่ติดตามพร้อมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (2) 2.รณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ในหมู่บ้านผ่านป้ายประชาสัมพันธ์ (3) อบรมให้ความรู้สตรีกลุ่มเป้าหมายในชุมชนโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ