กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานในชุมชน จำนวน 1,186 คน คิดเป็นร้อยละ 91.31 2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงด้วยโรค Metabolic จำนวน 200 คน
3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานเเละคัดกรอง CVD RISK จำนวน 200 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเเละความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน ร้อยละ 90
90.00 91.31

ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง-เบาหวาน จากยอดประชาชนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1,255 คน เเละได้รับการคัดกรองจริง 1,146 คน คิดเป็นร้อยละ 91.31

2 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
ตัวชี้วัด : 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 60
60.00 60.00

ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 60

3 3.เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูเเลรักษาเเละได้รับการส่งต่อตามเเนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
ตัวชี้วัด : 3.ประชาชนกลุ่มป่วยได้รับการคัดกรองภาวะเเทรกซ้อน ตา ใจไต เท้า ร้อยละ60
60.00 60.00

ประชาชนกลุ่มป่วยได้รับการคัดกรองภาวะเเทรกซ้อน ตา ใจไต เท้า ร้อยละ60

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานเเละความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. (3) เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการดูเเลรักษาเเละได้รับการส่งต่อตามเเนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานในชุมชน จำนวน 1,186 คน คิดเป็นร้อยละ 91.31 (2) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงด้วยโรค Metabolic จำนวน 200 คน (3) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานเเละคัดกรอง CVD RISK จำนวน 200 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ...ไม่มี...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh