กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้ปกครองและแกนนำ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ของเด็กแรกเกิด - 6 ปี ร้อยละ 80
2.เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วน ร้อยละ 60 3. เพื่อให้เด็ดแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 95

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ผลผลิต 1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู็ปกครองของเด็ก 0-6 จำนวน 75 คน และแกนนำ อสม.จำนวน 25 คน ร้อยละ 100 2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็ก แก่ผู้ปกครองของเด็ก 0-6 ปี และแกนนำ อสม. จำนวน 100 คน ร้อยละ 100 3.ผู้ปกครองของเด็ก 0-6 ปี และแกนนำ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ของเด็ก 0-6 ปี ร้อยละ 86 ผลลัพธ์ 1.เด็ก 0-6 ปี มีภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วน ร้อยละ 56.96 (เกณฑ์กระทรวง ร้อยละ 57) 2.เด็ก 0-6 ปี มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 132 คน ร้อยละ 93.62 (ทั้งหมด 141 คน ล่าช้า 2 คน และอยู๋ระหว่างติดตาม จำนวน 7 คน) ปัญหา/อุปสรรค 1. ได้รับจัดสรรงบประมาณจากกองทุนล่าช้า ทำให้การดำเนินงานล่าช้า ไม่มีความคล่องตัว 2.ผู็ปกครองบางส่วนไม่ตระหนัก ไม่เห็นความสำคัญและไม่มีเวลาในการเลี้ยงดู ส่งเสริมโภชนาการและขาดการกระตุ้นพัฒนาการเด็กอย่างต่อเนื่อง ทำให้เด็กกลุ่ม 0-6 ปี ยังมีปัญหาในเรื่องโภชนาการและพัฒนาการล่าช้า แนวทางการแก้ไข 1.กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ต้องจัดสรรงบประมาณให้เร็วขึ้นโดยจัดสรรไม่ควรเกินไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2.การแก้ปัญหากลุ่มเด็ก 0-6 ปี ในเรื่องโภชนาการ/พัฒนาการ ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนภาคีเครือข่ายต่างๆ และควรมีการทำงานเชิงรุก ลงเยี่ยมบ้านและติดตามอย่างต่อเนื่อง

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ