กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ เพราะ ภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วนของ เด็ก 0-6 ยังต่ำกว่าเกณฑ์ ที่กระทรวงกำหนด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้ปกครองและแกนนำ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ของเด็กแรกเกิด - 6 ปี ร้อยละ 80
2.เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 6 ปี มีภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วน ร้อยละ 60 3. เพื่อให้เด็ดแรกเกิด - 6 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 95

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ผลผลิต 1.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู็ปกครองของเด็ก 0-6 จำนวน 75 คน และแกนนำ อสม.จำนวน 25 คน ร้อยละ 100 2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็ก แก่ผู้ปกครองของเด็ก 0-6 ปี และแกนนำ อสม. จำนวน 100 คน ร้อยละ 100 3.ผู้ปกครองของเด็ก 0-6 ปี และแกนนำ อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ของเด็ก 0-6 ปี ร้อยละ 86 ผลลัพธ์ 1.เด็ก 0-6 ปี มีภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วน ร้อยละ 56.96 (เกณฑ์กระทรวง ร้อยละ 57) 2.เด็ก 0-6 ปี มีพัฒนาการสมวัย จำนวน 132 คน ร้อยละ 93.62 (ทั้งหมด 141 คน ล่าช้า 2 คน และอยู๋ระหว่างติดตาม จำนวน 7 คน) ปัญหา/อุปสรรค 1. ได้รับจัดสรรงบประมาณจากกองทุนล่าช้า ทำให้การดำเนินงานล่าช้า ไม่มีความคล่องตัว 2.ผู็ปกครองบางส่วนไม่ตระหนัก ไม่เห็นความสำคัญและไม่มีเวลาในการเลี้ยงดู ส่งเสริมโภชนาการและขาดการกระตุ้นพัฒนาการเด็กอย่างต่อเนื่อง ทำให้เด็กกลุ่ม 0-6 ปี ยังมีปัญหาในเรื่องโภชนาการและพัฒนาการล่าช้า แนวทางการแก้ไข 1.กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ต้องจัดสรรงบประมาณให้เร็วขึ้นโดยจัดสรรไม่ควรเกินไตรมาสที่สองของปีงบประมาณ 2.การแก้ปัญหากลุ่มเด็ก 0-6 ปี ในเรื่องโภชนาการ/พัฒนาการ ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนภาคีเครือข่ายต่างๆ และควรมีการทำงานเชิงรุก ลงเยี่ยมบ้านและติดตามอย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh