กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมอบรม ให้ความรู้ เรื่องการใช้ยาในครัวเรือนอย่างสมเหตุผล (RDU) 2 ก.ค. 2562 29 ก.ย. 2562

 

กิจกรรมประชุมอบรม เยาวชนแกนนำคุ้มครองผู้บริโภค ให้ความรู้ เรื่องการใช้ยาในครัวเรือน  อย่างสมเหตุผล (RDU) จำนวน 3 ครั้ง เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2562  13 ตุลาคม2562 และ23 ตุลาคม 2562 ณ ห้องประชุม  รพ.สต.บ้านทุ่งนารี

 

การประชุมอบรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้การใช้ยาในครัวเรือนอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use : RDU)  โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ  แกนนำเยาวชนแกนนำด้านสุขภาพของชุมชนบ้านทุ่งนารี  จำนวน 15 คน และ ผู้รับผิดชอบโครงการจากชมรมคุ้มครองผู้บริโภคชุมชนบ้านทุ่งนารี จำนวน 5 คน วิทยากร  จำนวน 1 ท่าน คือ นายสัญญา  ชัยหาญ  ตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการ  โรงพยาบาลป่าบอน  ได้ให้ความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use : RDU)  ในครัวเรือน    และมีการวัดก่อนและหลังการทดลอง (One Group  Pretest - Posttest  Design) เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินความรู้ เรื่อง การใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU) จำนวน 10 ข้อ  วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ร้อยละ โดยมีผลการศึกษาพบว่า  แกนนำเยาวชนต้นกล้าตาสับปรดของชุมชนบ้านทุ่งนารี มีความรู้เรื่องการใช้อย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use : RDU)  ในครัวเรือน  เพิ่มขึ้น  โดย  คะแนนเฉลี่ยความรู้ เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU) หลังการประชุมอบรม  เพิ่มขึ้น จากค่าเฉลี่ย ก่อนการอบรม 6.17 คะแนน เป็น 9.17 คะแนน

 

การสำรวจการใช้ยาในครัวเรือน 2 ก.ค. 2562 24 พ.ย. 2562

 

โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมการใช้ยาที่มีส่วนทำให้เกิดเชื้อดื้อยา  10 พฤติกรรม  ในกลุ่ม ผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังและมารับบริการใน รพ.สต.บ้านทุ่งนารี  จำนวน 60  คนพบว่า
ร้อยละ 63.33 หยุดรับประทานยาปฏิชีวนะ  เมื่อมีอาการดีขึ้น ร้อยละ 33.33 ซื้อยาปฏิชีวนะ กินตามคนอื่น ร้อยละ 33.33 ซื้อยา ยาปฏิชีวนะ กินเองตามที่เคยได้รับจากบุคลากรทางการแพทย์ครั้งก่อนๆ ร้อยละ 30.00 ซื้อยาแก้อักเสบกินเองตามความเข้าใจเมื่อมีอาการปวดอักเสบ ร้อยละ 13.33 อมยาอมที่ผสม ยาปฏิชีวนะ  ฆ่าเชื้อโรค ร้อยละ 10.00 แกะแคปซูล ยาปฏิชีวนะ  ไปโรยแผล ร้อยละ 10.00 ใช้ยาปฏิชีวนะ  โดยไม่ทราบชื่อสามัญทางยา ร้อยละ  6.67 เปลี่ยนไปซื้อ ยาปฏิชีวนะที่แรงกว่ากินเอง ร้อยละ  6.67 เพิกเฉยต่อการให้คำแนะนำ การใช้ยาปฏิชีวนะ อย่างถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ  3.33 ใช้ ยาปฏิชีวนะ  ผสมในอาหารสัตว์

 

โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมการใช้ยาที่มีส่วนทำให้เกิดเชื้อดื้อยา  10 พฤติกรรม  ในกลุ่ม ผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังและมารับบริการใน รพ.สต.บ้านทุ่งนารี  จำนวน 60  คนพบว่า
ร้อยละ 63.33 หยุดรับประทานยาปฏิชีวนะ  เมื่อมีอาการดีขึ้น ร้อยละ 33.33 ซื้อยาปฏิชีวนะ กินตามคนอื่น ร้อยละ 33.33 ซื้อยา ยาปฏิชีวนะ กินเองตามที่เคยได้รับจากบุคลากรทางการแพทย์ครั้งก่อนๆ ร้อยละ 30.00 ซื้อยาแก้อักเสบกินเองตามความเข้าใจเมื่อมีอาการปวดอักเสบ ร้อยละ 13.33 อมยาอมที่ผสม ยาปฏิชีวนะ  ฆ่าเชื้อโรค ร้อยละ 10.00 แกะแคปซูล ยาปฏิชีวนะ  ไปโรยแผล ร้อยละ 10.00 ใช้ยาปฏิชีวนะ  โดยไม่ทราบชื่อสามัญทางยา ร้อยละ  6.67 เปลี่ยนไปซื้อ ยาปฏิชีวนะที่แรงกว่ากินเอง ร้อยละ  6.67 เพิกเฉยต่อการให้คำแนะนำ การใช้ยาปฏิชีวนะ อย่างถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ  3.33 ใช้ ยาปฏิชีวนะ  ผสมในอาหารสัตว์

 

-ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ในชุมชน โดยใช้สื่อ คณะโขนตะลุง 2 ก.ค. 2562 24 พ.ย. 2562

 

  1. ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ความรู้ในชุมชน
    ประชาสัมพันธ์  รณรงค์ในชุมชน  ให้ความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU)  ผ่านสื่อที่พัฒนามาจากหนังตะลุง  คณะโขนตะลุง  ซึ่งมีการให้ความรู้ (ฤาษีเปรียบเสมือนตัวแทนของผู้มีความรู้ให้ความรู้ผ่านบทสนทนากับตัวหนูนุ้ยที่เปรียบเสมือนชาวบ้าน)

 

  1. ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ความรู้ในชุมชน
    ประชาสัมพันธ์  รณรงค์ในชุมชน  ให้ความรู้เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU)  ผ่านสื่อที่พัฒนามาจากหนังตะลุง  คณะโขนตะลุง  ซึ่งมีการให้ความรู้ (ฤาษีเปรียบเสมือนตัวแทนของผู้มีความรู้ให้ความรู้ผ่านบทสนทนากับตัวหนูนุ้ยที่เปรียบเสมือนชาวบ้าน)