กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

ลดพุงลดโรคเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.บุคลากรและประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องอาหาร การออกกำลังกายและจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสมและสมัครเข้าร่วมคลินิก DPAC ร้อยละ 100 2.ลดอัตราป่วยในกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 80

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินงานคลินิกไร้พุงให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป 2) ลดอัตราป่วยรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 3) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องอาหาร การออกกำลังกายและการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม ๔) เพื่อเป็นแบบอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองธงผ่านการประเมินคลินิกไร้พุงคุณภาพจาก สสจ.พัทลุง 2. อัตราป่วยรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงลดลง ร้อยละ 80 3. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องอาหาร การออกกำลังกายและการจัดการอารมณ์ร้อยละ 80 4. บุคลากรและกลุ่มเป้าหมายเป็นแบบอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินงานคลินิกไร้พุงให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป 2) ลดอัตราป่วยรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 3) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องอาหาร    การออกกำลังกายและการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม ๔) เพื่อเป็นแบบอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh