กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพช่องปาก 2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กสามารถดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้ถูกต้อง 3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุของเด็ก 3-5 ปี 4. เพื่อให้เด็กที่มารับบริการในคลินิคเด็กดีได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง 5. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความพอใจต่อโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. กิจกรรมคัดกรองสุขภาพช่องปากแก่เด็ก 0 - 5 ปี และในศพด. กลุ่มเป้าหมาย 254 คน ซึ่งได้รับความร่วมมือจากทางผู้ปกครองเด็ก อสม. รวมทั้งเด็กนักเรียนได้เข้ารับการคัดกรองสุขภาพช่องปากทุกคน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 93.70 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลช่องปากแก่ตัวแทนผู้ปกครองเด็ก 0 - 2 ปี จำนวน 50 คน ได้รับความร่วมมือเข้าร่วมอบรม 51 คน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลช่องปากแก่ตัวแทนผู้ปกครองเด็ก 3 - 5 ปี จำนวน 50 คน ได้รับความร่วมมือเข้าร่วมอบรม 50 คน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100 4. กิจกรรมทาฟลูออไรด์ในเด็ก 0 - 5 ปี จำนวน 254 คน ซึ่งเด็กได้รับการทาฟลูออไรด์ทุกคน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 93.70 5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลช่องปากแก่ อสม. จำนวน 40 คน ได้รับความร่วมมือเข้าร่วมอบรม 40 คน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100 6. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลช่องปากแก่ ครู ผู้ปกครองเด็กในศพด. จำนวน 30 คน ได้รับความร่วมมือเข้าร่วมอบรม 30 คน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1. พัฒนาสื่อ หรือนวัตกรรมเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อการใช้บริการด้านทันตสุขภาพ เพื่อลดความหวาดกลัวในการรับบริการทันตกรรมในเด็ก 2. จัดกิจกรรมให้ความรู้ทันตสุขภาพอย่างต่อเนื่อง และเน้นเชิงรุกโดยบูรณาการไปพร้อมๆ กับการเยี่ยมบ้าน

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
  1. เด็กนักเรียนไม่มีเรียนในวันที่ออกคัดกรองสุขภาพช่องปาก ในวันที่ออกให้บริการทาฟลูออไรด์ทุกคน ทำให้ต้องใช้เวลาเพิ่มจากแผนในการติดตาม เพื่อให้ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และทาฟลูออไรด์ครบทุกคน
  2. ประชาชนมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก ทำให้พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง
  3. เด็กบางคนกลัวหมอฟัน ไม่ยอมให้ตรวจฟันต้องใช้เวลาในการกล่อมบ้าง
เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ