กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อ(ชิกุนคุนย่า) และการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย (2) ลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อ(ชิกุนคุนย่า)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 วันที่ 31 /07/2562 การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อ(ชิกุนคุนย่า) (2) ค่าวิทยากร (3) ค่าวัสดุแลค่าอุปกรณ์ (4) กิจกรรมที่ 2 วันที่ 5 /08/2562 ลงพื้นที่รณรงค์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชนและศาสนสถานในหมู่บ้านที่ 1 (บ้านกาแลตือเงาะ) (5) กิจกรรมที่ 3 วันที่ 6/08/2562 ลงพื้นที่รณรงค์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชนและศาสนสถานในหมู่บ้านที่ 2 (บ้านพอเบาะ) (6) กิจกรรมที่ 4 วันที่ 7 /08/2562 ลงพื้นที่รณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชนและศาสนสถานในหมู่บ้านที่ 3 (บ้านกระหวะ) (7) กิจกรรมที่ 5 วันที่ 8 /08/2562 ลงพื้นที่รณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชนและศาสนสถานในหมู่บ้านที่ 4 (บ้านราวอ) (8) กิจกรรมที่ 6 วันที่ 9 /08/2562 ลงพื้นที่รณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชนและศาสนสถานในหมู่บ้านที่ 5 (บ้านเมาะโง)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
  1. ประชาชนไม่ตระหนักในการป้องกันโรค
  2. ประชาชนประกอบอาชีพ (ตัดยาง) ในตอนหัวรุ่ง และจะพักผ่อนตอนกลางวันไม่นิยมนอนกางมุ้ง
  3. ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพนอกพื้นที่ เมื่อเจ็บป่วยหรือป่วยเป็นโรคติดต่อ จึงเดินทางกลับมาใช้สิทธิรักษาในพื้นที่
  4. ประชาชนมีการเดินทางติดต่อไป มา ระหว่างญาติพี่น้องจากต่างจังหวัดขณะมีการระบาดโรค
  5. มีแหล่งน้ำขังในหมู่บ้าน เช่น คลองชลประทาน
  6. สภาพดินฟ้าอากาศมีฝนตกชุก
  7. ในช่วงที่มีการระบาดของโรค ไม่สามารถจะกักหรือแยกบริเวณผู้ป่วยได้ ส่วนใหญ่ญาติๆ จะไปเยี่ยมเยียนผู้ป่วย กันในหมู่บ้าน ทำให้มีการระบาดอย่างรวดเร็ว
เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ