กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงานโครงการฯ พบว่า หญิงมีครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธุ์รับรู้และตระหนักถึงภาวะเสี่ยงในขณะตั้งครรภ์ และสามารถเข้าบริการดูแลโดยเจ้าหน้าที่ตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข คือฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ เป้าหมาย 44 ราย ผลงาน 42 ราย คิดเป็นรายละ 95.45 และ ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพ (ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพก่อนคลอด) เป้าหมาย 42 ราย ผลงาน 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 80.95 ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานการดูแลหญิงมีครรภ์ให้มีคุณภาพ ร้อยละ 65 ที่กระทรวงกำหนด นอกจากนี้ยังสามารถลดอัตรามารดามีภาวะโลหิตจางจากการที่หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และกรดโฟลิก ร้อยละ 100 ลดภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ และไม่พบอัตราป่วยตายของทารกแรกคลอดในสถานบริการอีกด้วย (ฐานข้อมูล HDL กระทรวงสาธารณสุข, 2562 ณ วันที่ 26 กันยายน 2562)

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการเฝ้าระวัง ปัจจัยเสี่ยง และแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที 3. เพื่อช่วยลดอัตราป่วยตายและปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนในระยะของการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการเฝ้าระวัง ปัจจัยเสี่ยง และแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที 3. เพื่อช่วยลดอัตราป่วยตายและปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนในระยะของการตั้งครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh