กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อส่งเสริมให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลในโรงเรียนประถมศึกษามีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากเด็ก 2.เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลในโรงเรียนประถมศึกษามีกิจกรรมส่งเสริมช่องปากเด็กอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง ผลการดำเนินงานที่สำคัญ กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลในโรงเรียนประถมศึกษา - ระหว่าง เดือนกรกฎาคม - สิงหาคม ออกดำเนินงาน ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลในโรงเรียนประถมศึกษา 5 แห่ง (รร.บ้านเขาปู่, รร.ชุณหะวัณ, รร.บ้านเหรียงงาม,ศพด.บ้านเขาปู่)โดยเด็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องจำนวน 269 คน คิดเป็นร้อยละ 94.40 กิจกรรมที่ 2 ให้การรักษาทางทันตกรรมแก่เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลในโรงเรียนประถมศึกษา - ระหว่าง เดือนกรกฎาคม - สิงหาคม ออกดำเนินงาน ทาฟลูออไรด์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลในโรงเรียนประถมศึกษา 5 แห่ง โดยเด็กได้รับการทาฟลูออไรด์ทั้งหมด 269 คน คิดเป็นร้อยละ 94.40 และเด็กได้รับการรักษาทางทันตกรรมอย่างน้อย 1 ครั้ง ของเด็กที่มีปัญหาโรคในช่องปาก โดยเด็กที่มีปัญหาโรคในช่องปากมีจำนวน 40 คน ได้รับการรักษา 31 คน คิดเป็นร้อยละ 77.50 กิจกรรมที่ 3 อบรมผู้ปกครอง/ผู้ดูแลให้ความรู้และฝึกปฏิบัติวิธีการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน - วันที่ 2 สิงหาคม 2562 ออกดำเนินงาน จัดอบรมผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กก่อนวัยเรียน ณ ศพด.บ้านเขาปู่ มีู้เข้าร่วมโครงการ 90 คน คิดเป็นร้อยละ 69.23 กิจกรรมที่ 4 ประเมินศูนย์พัฒนาเด็กและโรงเรียนที่มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์ - ทุกแห่งมีกิจกรรมผ่านเกณฑ์ ปัญหา/อุปสรรค 1. ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ให้ความสนใจกับเด็กมากกว่าที่จะรับฟังการให้ข้อมูลและการให้ความรู้ในการอบรม 2.ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการไม่ใช่ผู้ดูแลเด็กโดยตรงและมาร่วมกิจกรรมน้อย 3.เวลาในการดำเนินการเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติฝึกแปรงฟันไม่เพียงพอ แนวทางการแก้ไข 1.ควรอบรมผู้ปกครองทั้งหมดพร้อมกัน และแยกเด็กนักเรียนไว้กับครู เพื่อให้ผู้ปกครองได้รับฟังการให้ข้อมูลและได้รับความรู้ให้ได้มากที่สุด 2.สอบถามวันที่ผู้ปกครองสะดวกเพื่อทำการจัดในวันที่ผู้ปกครองส่วนใหญ่สะดวกเข้ามาร่วม และประชาสัมพันธ์สร้างแรงจูงใจให้กับผู้ปกครอง 3.เพิ่มระยะเวลาในการดำเนินงานกิจกรรมเล็กน้อย เพื่อเน้นย้ำในเรื่องที่สำคัญและลดระยะเวลาในบางเรื่องที่สามารถลดได้

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ