กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๓.สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้   กิจกรรมที่ ๑ ประชุมชี้แจง ติดตาม ประเมินผลการดำเนินการ จนท. อสม. แกนนำสุขภาพ จำนวน ๔ ครั้ง ดังนี้           ครั้งที่ ๑. วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๐           ครั้งที่ ๒. วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐           ครั้งที่ ๓. วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๐           ครั้งที่ ๔. วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๐
  กิจกรรมที่ ๒ กลุ่มสตรี และเด็กปฐมวัย ๒.๑ กิจกรรมค้นหาและเยี่ยมดูแลสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์  หญิงหลังคลอดและกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเด็กอายุ ๐-๓ ปีในชุมชน  ในเรื่องภาวะโภชนาการ พัฒนาการสมวัย และการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์           จัดกิจกรรมวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ๒.๒  กิจกรรมอบรมการส่งเสริมความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ๐-๓ ปี           จัดกิจกรรมวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๖๐ ที่ห้องประชุมโรงพยาบาลเมืองสงขลาผู้เข้าอบรมจำนวน๒๐คน
ประเมินความรู้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแล ระดับคะแนนความรู้ ก่อนอบรม หลังอบรม จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ พอใช้ (๐-๔) ๒ ๑๐ ๐ ๐ ดี (๕-๘) ๑๒ ๖๐ ๗ ๓๕ ดีมาก (๘-๑๐) ๖ ๓๐ ๑๓ ๖๕

สรุปแบบประเมินความพึงพอใจของการอบรม หัวข้อประเมิน มากที่สุด มาก ปานกลาง จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ จำนวน(คน) ร้อยละ ๑.เนื้อหาและหลักสูตรในการ ๑๔ ๗๐ ๖ ๓๐ ๐ ๐ ๒.ความรู้ความสามารถของวิทยากร ๑๕ ๗๕ ๔ ๒๐ ๑ ๕ ๓.ระยะเวลาในการอบรม ๑๖ ๘๐ ๒ ๑๐ ๒ ๑๐ ๔.ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ๑๕ ๗๕ ๓ ๗๕ ๒ ๑๐ ๕.ความพอใจโดยภาพรวม ๑๗ ๘๕ ๓ ๑๕ ๐ ๐

๒.๓ กิจกรรมติดตามเด็ก ๐-๓ ปี ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์โดยเจ้าหน้าที่และอสม.แกนนำสุขภาพ
    จำนวน ๑๐ คน ติดตามทุก ๑ เดือน จำนวน ๓ เดือน           ติดตามครั้งที่ ๑.เดือนมิถุนายน           ติดตามครั้งที่ ๒.เดือนกรกฎาคม           ติดตามครั้งที่ ๓.เดือนสิงหาคม           จากการติดตามทั้ง ๓ ครั้ง กลุ่มเป้าหมายทั้งหมดน้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ

  กิจกรรมที่ ๓ ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป, พระภิกษุ, ผู้นำศาสนา ๓.๑ กิจกรรมคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป, พระภิกษุ, ผู้นำศาสนา จำนวน ๒๐ ครั้ง เริ่ม กิจกรรมตั้งแต่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐   กิจกรรมที่ ๔ กลุ่มเสี่ยง ๔.๑ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อป้องกันการเกิดโรครายใหม่ ติดตาม ทุก ๒ เดือน จำนวน ๓ ครั้ง ดังนี้           ครั้งที่ ๑. วันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๐           ครั้งที่ ๒. วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๐           ครั้งที่ ๓. วันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๖๐   กิจกรรมที่ ๕ กลุ่มป่วย ๕.๑ กิจกรรม SHG ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังเชิงรุกในชุมชน จำนวน ๖ ครั้ง ดังนี้             ครั้งที่ ๑. วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๐             ครั้งที่ ๒. วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๖๐             ครั้งที่ ๓. วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๐             ครั้งที่ ๔. วันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐             ครั้งที่ ๕. วันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๐             ครั้งที่ ๖. วันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๐ ๕.๒ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชมรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน ๓ ครั้ง ดังนี้             ครั้งที่ ๑. วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
            ครั้งที่ ๒. วันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๐             ครั้งที่ ๓. วันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๐       กิจกรรมที่ ๖    กลุ่มอายุ ๓๐-๗๐ ปี ๖.๑ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อป้องกันมะเร็งเต้านม/ปากมดลูกและตรวจมะเร็งปากมดลูกในชุมชน
      จำนวน ๑๐๐ คน เริ่มกิจกรรมตั้งแต่วันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐
๖.๒ กิจกรรมประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน ๖๐ คน เริ่มกิจกรรมตั้งแต่วันที่ ๓ กรกฎาคม
      ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐     กิจกรรมที่ ๗    ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ ๗.๑ กิจกรรมกำจัดลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในชุมชน  จำนวน ๒ ครั้ง ดังนี้             ครั้งที่ ๑. วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๖๐
            ครั้งที่ ๒. วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ๗.๒ กิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรค จัดกิจกรรมวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐    


กิจกรรมที่ ๘ กลุ่มผู้สูงอายุ
๘.๑ กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน  จำนวน ๙๓๔ คน เริ่มกิจกรรมตั้งแต่วันที่       ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ถึงวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๐
๘.๒ กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุที่จัดเป็นประจำเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของสมาชิก  แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ  การให้ความรู้ด้านสุขภาพ  กิจกรรมสันทนาการ  กิจกรรมออกกำลังกาย จำนวน ๖ ครั้ง ดังนี้             ครั้งที่ ๑. วันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๖๐             ครั้งที่ ๒. วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐             ครั้งที่ ๓. วันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๐             ครั้งที่ ๔. วันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๐             ครั้งที่ ๕. วันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๐ กิจกรรมสัญจรนอกสถานที่ สวนสัตว์สงขลา             ครั้งที่ ๖. วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๐

๕.สรุปการใช้งบประมาณ   ๕.๑ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร    จำนวนทั้งสิ้น ๘๕,๔๗๕  บาท   ๕.๒ งบประมาณที่ใช้จริง          จำนวนทั้งสิ้น ๘๕,๔๕๕  บาท ดังรายการ           ๑. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน      จำนวน    ๕๘,๑๒๕  บาท           ๒. ค่าตอบแทนวิทยากร                                จำนวน      ๑,๒๐๐  บาท           ๓. ค่าเครื่องดื่ม(นมจืด)เด็กน้ำหนักน้อย              จำนวน    ๑๓,๕๐๐  บาท           ๔. ค่าวัสดุเจาะเลือดเบาหวาน                          จำนวน      ๙,๖๓๐  บาท           ๕. ค่าวัสดุ  อุปกรณ์  เอกสาร                          จำนวน      ๓,๐๐๐  บาท                         เงิน  คงเหลือ จำนวน  ๒๐ บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 60 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน12สัปดาห์ -ร้อยละ 70 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์มาตรฐาน 5 ครั้ง -ร้อยละ 100 ของมารดาหลังคลอดและบุตรได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้ง

 

2 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 100 ของเด็กอายุ 0-3 ปี ไม่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน -ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0-3 ปี มีภาวะโภชนาการ พัฒนาการสมวัย -ร้อยละ 100 ของเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการได้รับการรักษา ส่งต่อ

 

3 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : -อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 20 -ค่าดัชนีลูกน้ำไม่เกินเกณฑ์ (HI

 

4 4. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพ -ร้อยละ80 ของกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังเกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่น้อยกว่าร้อยละ 10 -กลุ่มโรคเรื้อรังเบาหวานความดันที่รับการรักษาที่PCU ได้รับการดูแลตามมาตรฐานเฉพาะโรคร้อยละ 90 -ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนน้อยกว่าร้อยละ 5 -ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-70 ปี สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ -ร้อยละ 20 ของสตรีอายุ 30-60 ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก

 

5
ตัวชี้วัด : -ผู้สูงอายุได้รับการประเมิน ADL/พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ >ร้อยละ 90 -ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงได้รับการเยี่ยมดูแล ตามเกณฑ์ ร้อยละ 100 -ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกเดือน สมาชิกมีสุขภาพกายและจิตอยู่ในระดับดีมากกว่า ร้อยละ 70

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3372
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 22
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนทุกกลุ่มวัย (2) 2. เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (3) 3. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ (4) 4. เพื่อบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (5)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh