โครงการทำปุ๋ยหมักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองช้าง ปีงบประมาณ 2562
ชื่อโครงการ | โครงการทำปุ๋ยหมักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองช้าง ปีงบประมาณ 2562 |
รหัสโครงการ | 62-LNK-3-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองช้าง |
วันที่อนุมัติ | 26 สิงหาคม 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 16 กันยายน 2562 - 16 กันยายน 2562 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 27 กันยายน 2562 |
งบประมาณ | 6,975.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวแอเสาะ มามุ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางประภัสสร ขวัญกะโผะ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.744,101.155place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 16 ก.ย. 2562 | 16 ก.ย. 2562 | 6,975.00 | |||
รวมงบประมาณ | 6,975.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีกว่า ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากสารเคมีปนเปื้อนในสภาวะแวดล้อม และแหล่งน้ำ ส่งผลต่อความปลอดภัยด้านสุขภาพ หากได้รับสารเคมีเข้าไปในร่างกายในปริมาณมากๆ จะเห็นได้จากประชาชนในระดับครัวเรือน หรือเกษตรได้เริ่มมาให้ความสำคัญกับการดำรงชีวิตที่เป็นที่มิตรกับสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการน้ำหมักชีวภาพกำลังเป็นที่สนใจของประชาชน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการทำในระดับครัวเรือนและชุมชนที่สนใจ แต่ยังไม่แพร่หลาย เนื่องจากประชาชนยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ขาดข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ในเรื่องกระบวนการผลิต การบรรจุ การเก็บรักษาและการตรวจคุณภาพ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในการทำน้ำหมักชีวภาพ ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองช้าง สังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลนาเกตุ จึงมีแนวคิดที่จะนำวัสดุที่เหลือใช้จากเศษอาหาร เปลือกผลไม้ เช่น เปลือกส้ม เปลือกสับปะรด แตงโมและเศษผักต่างๆ นำมาผลิตเป็นน้ำหมักชีวภาพ อีกทั้งเพื่อเป็นการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย แก้ไขปัญหาขยะอินทรีย์ที่ส่งกลิ่นเหม็น เรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี การเอาจุลินทรีย์ EM มาช่วยในการเร่งปฏิกิริยาย่อยสลายผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่เหลือใช้เป็นน้ำจุลินทรีย์ หรือน้ำหมักชีวภาพ เพื่อไปทำการล้างท่อลดปัญหาการส่งกลิ่นเหม็นทดแทนการใช้สารเคมี ลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ประกอบกับนโยบายระดับชาติที่มุ่งเน้นให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม และลดปัญหาขยะในครัวเรือน ให้ผู้ประกอบการร้านค้าในพื้นที่ใส่ใจผู้บริโภคมากขึ้น จึงหันมาใช้สิ่งต่างๆ ในธรรมชาติที่อยู่ใกล้ตัวมาทดลอง และประยุกต์ใช้ประโยชน์มากขึ้นจึงได้จัดทำโครงการน้ำหมักชีวภาพจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนและสามารถ ซึ่งทางองค์การบริหารส่วนตำบลนาเกตุได้เห็นถึงความสำคัญของขยะที่สามารถนำมาทำให้เกิดประโยชน์แก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองช้างเพื่อนำมาทำปุ๋ยหมักในการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อใช้ทำอาหารกลางวัน ให้เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองช้างต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเป็นการน้อมนำแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง รัชกาลที่ 10 มาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
|
0.00 | |
2 | 2..เพื่อเป็นการสร้างประโยชน์จากขยะและสามารถมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
0.00 | |
3 | 3..เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่ม สร้างความสามัคคีภายในชุมชน
|
0.00 | |
4 | 4.เพื่อสนับสนุนให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษใช้ในการทำอาหารสำหรับนักเรียน
|
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 6,975.00 | 1 | 6,975.00 | |
16 ก.ย. 62 | อบรมและฝึกปฏิบัติการจัดทำปุ๋ยหมัก | 0 | 6,975.00 | ✔ | 6,975.00 |
1.กำหนดโครงการ/กิจกรรม 2.ประชุมคณะกรรมการ 3.แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิบัติงาน 4.ดำเนินการตามโครงการ 5.ประเมินผล/สรุป/รายงานผลโครงการ
- เป็นการน้อมนำแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง รัชกาลที่ 10 มาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
2.เป็นการสร้างประโยชน์จากขยะและสามารถมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
3..ให้เกิดการรวมกลุ่ม สร้างความสามัคคีภายในชุมชน 4.สนับสนุนให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษใช้ในการทำอาหารสำหรับนักเรียน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ก.ย. 2562 10:38 น.