กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กล่องยา เตือนตนหมู่ที่ 2 บ้านลูโบ๊ะลือซง 9 ก.ค. 2563 9 ก.ค. 2563

 

  1. จัดประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนกำหนดแนวทางการดำเนินงานโครงการร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต
  2. จัดเตรียมเอกสารโครงการ
  3. จัดเตรียมข้อมูล รายชื่อ ผู้ป่วยเรื้อรัง ที่รับยา รพ.สต
  4. จัดซื้อ วัสดุ อุปกรณ์ กิจกรรมและดำเนินการตามกิจกรรม
  5. ดำเนินงานตามโครงการ
  6. รวบรวมวิเคราะห์ และประเมินผลการดำเนินการ
  7. รายงานผลการดำเนินงาน

 

  1. ประชาชนทั่วไป ผู้ป่วย/ผู้ดูแล ครอบครัวสามารถรับรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเกิดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและอัมพฤกษ์ อัมพาต
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงในหมู่ที่ 2 ตำบลมูโนะ ได้รับการคัดกรองครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข
  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย/ผู้ดูแล สามารถดูแลตนเองในการป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง เพื่อลดความรุนแรงและเกิดโรคแทรกซ้อน

 

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง DPAC หมู่ที่ 2 บ้านลูโบ๊ะลือซง 21 ก.ค. 2563 21 ก.ค. 2563

 

  1. หลังการเสร็จสิ้นการรณรงค์คัดกรองภาวะสุขภาพเบื้องต้นในกิจกรรม ที่ 1.1 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/โรคเบาหวานและโรคอ้วนในชุมชน
  2. ทำการส่งข้อมุลการคัดกรองให้เจ้าหน้าที่ รพ.สต เพื่อคัดกลุ่มเสี่ยง มาทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. เรียกกลุ่มเสี่ยง มาทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต ในวันที่ 21 กรกฎาคม 2563 ณ.รพ.สต.มูโนะ
  4. หลังจากมีการประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น ทำแบบประเมิน แจกเอกสารความรู้และการอบรมให้ความรู้ โดย วิทยากร
  5. มีการนัดหมายการติดตาม จำนวน 3 ครั้ง เพื่อให้ กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองในทางที่ดีขึ้น เป็นเวลา 6 เดือน
  6. สรุปผลการดำเนินงาน และพัฒนาการดำเนินงานในปีงบประมาณต่อไป

 

  1. ประชาชนทั่วไป ผู้ป่วย/ผู้ดูแล ครอบครัวสามารถรับรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเกิดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและอัมพฤกษ์ อัมพาต
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงในหมู่ที่ 2 ตำบลมูโนะ ได้รับการคัดกรองครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข
  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย/ผู้ดูแล สามารถดูแลตนเองในการป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง เพื่อลดความรุนแรงและเกิดโรคแทรกซ้อน

 

กิจกรรมการรณรงค์คัดกอง 4 พ.ย. 2563 4 พ.ย. 2562

 

  1. จัดประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนกำหนดแนวทางการดำเนินงานโครงการ
  2. แบ่งงานความรับผิดชอบ อสม. แต่ละโซน จำนวน 5 โซน
  3. จัดเตรียมเอกสารโครงการ และจัดซื้อเครื่องมือที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
  4. ดำเนินงานตามโครงการ
  5. รวบรวมวิเคราะห์ และประเมินผลการดำเนินการ
  6. รายงานผลการดำเนินงาน

 

  1. ประชาชนทั่วไป ผู้ป่วย/ผู้ดูแล ครอบครัวสามารถรับรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเกิดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและอัมพฤกษ์ อัมพาต
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงในหมู่ที่ 2 ตำบลมูโนะ ได้รับการคัดกรองครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข
  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย/ผู้ดูแล สามารถดูแลตนเองในการป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง เพื่อลดความรุนแรงและเกิดโรคแทรกซ้อน