กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พื้นที่ รพ.สต.บ้านผัง 34 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ เพื่อรักษาในระยะเริ่มต้นตัวอย่างทันท่วงที
(2) เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและนำกลุ่มเสี่ยงไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
(3) เพื่อสร้างแกนนำตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
หมู่ที่2 จำนวนผู้คัดกรอง 979 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 96 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.80 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.04 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 383 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.12 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.74

หมู่ที่3 จำนวนผู้คัดกรอง 556 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 136 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.46 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.73 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 291 ราย คิดเป็นร้อยละ 52.38
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.61

หมู่ที่5 จำนวนผู้คัดกรอง 840 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 216 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.71 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 380 ราย คิดเป็นร้อยละ 45.23 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.57
หมู่ที่8 จำนวนผู้คัดกรอง 273 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.37

ปัญหาอุปสรรค
1. การดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมตรวจคัดกรองไม่สามารถดำเนินการคัดกรองได้ 100 เปอร์เซ็น เนื่องจากประชากรเป้าหมายไม่ได้อยู่ในพื้นที่หรือที่บ้านทุกวันเนื่องจากมีภาระกิจงานนอกบ้านจากเช้า-เย็น

  1. กลุ่มเป้าหมายย้ายไปอยู่ต่างจังหวัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1. ทบทวนกลุ่มเป้าหมายดดยอสม. ประจำครัวเรือนอย่างถี่ถ้วนมากขึ้น

  1. หาแนวทางแก้ไขปัญหากลุ่มทำงานนอกบ้านแต่หัวรุ่งร่วมกันเพื่อให้ได้รับการคัดกรองครบถ้วน
คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ