กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พื้นที่ รพ.สต.บ้านผัง 34 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอรายงานผลการดำเนินงานโครงการตามบันทึกข้อตกลงการรับเงินอุดหนุนเลขที่ 1/2563 วันที่ 28 ตุลาคม 2562 ได้เริ่มดำเนินการตามวัตถุปรพสงค์ของโครงการเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2562 และเสร็จเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2563 จำนวนเงิน 91,205 บาท ของการดำเนินการตามโครงการที่ได้รับเงินอุดหนุนพร้อมหนังสือนี้เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป
  • ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งเอกสารใบเสร็จรับเงินหรือหลักฐานอื่นจำนวน 12 ฉบับ มาพร้อมหนังสือนี้เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป

สรุปผลการคัดกรองโรคเบาหวาน-ความดัน ประจำปีงบประมาณ 2563

หมู่ที่2 จำนวนผู้คัดกรอง 979 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 96 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.80 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.04 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 383 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.12 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.74

หมู่ที่3 จำนวนผู้คัดกรอง 556 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 136 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.46 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.73 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 291 ราย คิดเป็นร้อยละ 52.38
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.61

หมู่ที่5 จำนวนผู้คัดกรอง 840 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 216 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.71 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 380 ราย คิดเป็นร้อยละ 45.23 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.57
หมู่ที่8 จำนวนผู้คัดกรอง 273 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.37

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ เพื่อรักษาในระยะเริ่มต้นตัวอย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมาย(อายุ15 ปีขึ้นไป) ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงอย่างน้อยร้อยละ 90 2. ผู้ป่วยรายใหม่จากผลการตรวจคัดกรองได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อรักษาที่ถูกต้อง
0.00

 

2 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและนำกลุ่มเสี่ยงไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายผู้ผ่านการตรวจฯ ทราบระดับความเสี่ยงต่อโรคเบหวานและความดันโลหิตสูงของตนเอง ร้อยละ100 2.กลุ่มเป้าหมายผู้มีผลการคัดกรองมีความเสี่ยงได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 100
0.00

 

3 เพื่อสร้างแกนนำตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
ตัวชี้วัด : ทักษะ ความเชี่ยวชาญ และการแปรผล จากข้อมูลการตรวจกรองของ อสม.มีความถูกต้อง ร้อยละ 95
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2540 2466
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 2,540 2,466
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ เพื่อรักษาในระยะเริ่มต้นตัวอย่างทันท่วงที
(2) เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและนำกลุ่มเสี่ยงไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
(3) เพื่อสร้างแกนนำตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
หมู่ที่2 จำนวนผู้คัดกรอง 979 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 96 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.80 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.04 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 383 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.12 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.74

หมู่ที่3 จำนวนผู้คัดกรอง 556 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 136 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.46 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.73 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 291 ราย คิดเป็นร้อยละ 52.38
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.61

หมู่ที่5 จำนวนผู้คัดกรอง 840 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 216 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.71 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 380 ราย คิดเป็นร้อยละ 45.23 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.57
หมู่ที่8 จำนวนผู้คัดกรอง 273 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.37

ปัญหาอุปสรรค
1. การดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมตรวจคัดกรองไม่สามารถดำเนินการคัดกรองได้ 100 เปอร์เซ็น เนื่องจากประชากรเป้าหมายไม่ได้อยู่ในพื้นที่หรือที่บ้านทุกวันเนื่องจากมีภาระกิจงานนอกบ้านจากเช้า-เย็น

  1. กลุ่มเป้าหมายย้ายไปอยู่ต่างจังหวัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1. ทบทวนกลุ่มเป้าหมายดดยอสม. ประจำครัวเรือนอย่างถี่ถ้วนมากขึ้น

  1. หาแนวทางแก้ไขปัญหากลุ่มทำงานนอกบ้านแต่หัวรุ่งร่วมกันเพื่อให้ได้รับการคัดกรองครบถ้วน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh