กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.หมู่บ้านได้รับการยกย่องเชิดชูให้เป็นแบบอย่างหมู่บ้านสุขภาพดีตามวิถีชุมชน 2.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมและประชาชนมีความรู้ในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
3.อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน  ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและคัดกรองเบาหวาน ร้อยละ ๙๐% 4.อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านสามารถคัดกรองกลุ่ม pre DM ได้รับการบริการลดเสี่ยง ปรับพฤติกรรม    นัดติดตาม 1, 2, 3 เดือน และนัดตรวจ FPG เดือนที่ 6 และกลุ่ม pre HT ได้รับการบริการลดเสี่ยง ปรับพฤติกรรม ติดตามค่าความดันโลหิต 1, 2, 3, 6 เดือน  ได้ >ร้อยละ 80

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เป็นหมู่บ้านสุขภาพดีวิถีชุมชน มีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอ ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมและให้ประชาชนมีความรู้ในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อให้ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความเสี่ยงตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด :

 

4 กลุ่มเสี่ยงได้รับการเสริมทักษะและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 73
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 73
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เป็นหมู่บ้านสุขภาพดีวิถีชุมชน มีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอ ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน (2) เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมและให้ประชาชนมีความรู้ในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน (3) เพื่อให้ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความเสี่ยงตามมาตรฐาน (4) กลุ่มเสี่ยงได้รับการเสริมทักษะและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh