กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านโคกชะงาย โครงการส่งเสริมการจัดการลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชนแบบมีส่วนร่วมขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีมาตรการการจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชนเพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการและเพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ทุกหมู่บ้านให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค             ตัวชี้วัดความสำเร็จ ทุกหมู่บ้านมีมาตรการการจัดการขยะและมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะในครีัวเรือนและชุมชน โดยให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะที่ถูกต้อง อันตรายและภัยสุขภาพที่มาจากขยะ และร่วมกับวิเคราะห์ปัญหาขยะในหมู่บ้าน ร่วมกันหามาตรการการจัดการขยะของตนเอง โครงการดังกล่าวประกอบด้วย 3 กิจกรรม คือ ประชุมประชาคมหมู่บ้าน  กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์คัดแยกขยะ และมาตรการการจัดการขยะของชุมชน และกิจกรรมประเมินครัวเรือนต้นยแบบ 2 ครั้ง             ลักษณะกิจกรรม กรประชุมหารือหามาตรการการจัดการขยะในชุมชน             ผลการดำเนินงาน ประชุมประชาคมหมู่่บ้าน แต่ละหมู่บ้าน มีมาตรการการจัดการขยะ แต่ละหมู่บ้านมีครัวเรือน ที่เข้าร่วมโครงการ หมู่ละ 50 ครัวเรือน รวมทั้งหมด 300 ครัวเรือน ประชาสัมพันธ์มาตรการการจัดการขยะของแต่ละหมู่บ้านโดยการจัดทำป้ายมาตรการชุมชน และผ่านเวทีประชุมประจำเดือนหมู่บ้าน ของแต่ละหมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 2  (1)ธนาคารขยะ (2)ขยะแลกไข่รับซื้อขยะวันประชุมประจำเดือนหมู่บ้าน หมู่ที่ 3  (1)จิตอาสาร่วมเก็บขยะ เดือน ละ 2 ครั้ง (2)รณรงค์คีัดแยกขยะในครัวเรือน หมู่ที่ 4  (1)ทุกครัวเรือนทำถังขยะเปียก ขยะแห้ง(2)ธนาคารขยะ หมู่ที่ 5  (1)จัดทำถังขยะเปียก ปุ๋ยหมักในครัวเรือน(2)ห้ามทิ้งขยะตลอดแนว หมู่ที่ 6  (1)จิตอาสาร่วมเก็บขยะ 2 เดือน / ครั้ง(2)รณรงค์คัดแยกขยะในครัวเรือน หมู่ที่ 8  (1)ธนาคารขยะ(2)ถนนปลอดขยะ(3)ทุกครัวเรือนมีกระสอบคัดแยกขยะ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีมาตรการการจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนหมู่บ้านที่มีมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง
4.00 6.00 6.00

หมู่บ้านมีมาตรการขยะ

2 เพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ตัวชี้วัด : ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
4.00 270.00 300.00

 

3 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ทุกหมู่บ้านให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนในครัวเรือนต้นแบบได้ปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้นลดการเกิดโรคต่างๆในชุมชน
4.00 300.00 300.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 300 300
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีมาตรการการจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน (2) เพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 (3) เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ทุกหมู่บ้านให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมประชาคมหมู่บ้าน (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์คัดแยกขยะและมาตรการการจัดการขยะของชุมชน (3) กิจกรรมประเมินครัวเรือนต้นแบบ 2 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh