กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

๑. ประชุมเจ้าหน้าที่ประจำหมู่และอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตพื้นที่รับผิดชอบเพื่อรับทราบข้อมูลเด็กในส่วนขาดและติดตามเชิงรุกจำนวน ๓๐ คน ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลหนองจิก ในวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒๒. ดำเนินการจัดทำเวทีประชาคมในชุมชนโดยเชิญผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และแกนนำครอบครัว เพื่อรับทราบสถานการณ์การเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและข้อมูลเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบและให้ความรู้เรื่อง ชนิดของวัคซีนที่ต้องได้รับในแต่ละช่วงอายุ , ประโยชน์ของการได้รับวัคซีนเน้นย้ำถึงความสำคัญ และการปฏิบัติตัวหลังได้รับวัคซีน จำนวนผู้เข้าร่วมเวทีประชาคมทั้งหมด ๑๒๐ คน จำนวน ๓ ครั้ง ในวันที่ ๒๗พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ มัสยิดชุมชนย่านมัสยิด ม.๒ ตุยง , วันที่ ๑๔มิถุนายน ๒๕๖๒ ณ ชุมชนท่ายาลอม.๔ ตุยงและวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ ชุมชนกะลูแป ม.๔ ตุยง                                                                            ๓.ประชุมผู้ปกครองเด็กเรื่อง วัคซีนในสมุดบันทึกสุขภาพมารดาและเด็ก พร้อมให้บริการเชิงรุกแก่เด็กในรายที่ได้รับไม่ครบในเขตเทศบาล มีผู้เข้าร่วม จำนวน ๑๕๐ คน จำนวน ๓ ครั้ง ในวันที่ ๒๗พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ ชุมชนย่านมัสยิด ม.๒ ตุยง , วันที่ ๑๔มิถุนายน ๒๕๖๒ณ ชุมชนบ้านท่ายาลอ ม.๔ ตุยง และวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ ชุมชมกะลูแป ม.๔ ตุยง ให้บริการวัคซีนเชิงรุกในชุมชนเขตเทศบาล จำนวน ๔ ครั้ง พร้อมสอบถามสาเหตุของการไม่มารับบริการวัคซีนตามนัดหมายจากการสอบถามผู้ปกครองเป็นรายบุคคล พบว่ามีสาเหตุจาก กลัวบุตรมีไข้เป็นอันดับแรก รองลงมาคือ ผู้ปกครองไม่ตระหนักถึงความสำคัญและไม่มีความรู้ที่แท้จริงเกี่ยวกับวัคซีน , ไม่มีพาหนะมา , เด็กอยู่กับญาติผู้ใหญ่ซึ่งเป็นผู้สูงอายุ , บิดาหรือญาติผู้ใหญ่ไม่ให้ฉีด , ลืมนัดหมาย และผู้ปกครองต้องไปประกอบอาชีพต่างพื้นที่ไม่สะดวกพาบุตรมา ๔.อัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ที่พบในชุมชนเขตเทศบาล ได้แก่ โรคหัดในเด็กทุกกลุ่มอายุเด็กป่วยเป็นโรคหัดในเขตเทศบาล จำนวน ๗ ราย สาเหตุจากการได้รับวัคซีนไม่ครบและต่อเนื่อง รวมทั้งผู้สัมผัสในครอบครัวที่มีอายุต่ำกว่า ๔๐ ปี มาฉีดวัคซีนไม่ครบทุกคนในบ้าน มีโอกาสเกิดโรคได้อีก๕.อัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง ๕ ปี ของตำบลตุยง ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมายคือไม่ถึง ๙๐ เปอร์เซ็นต์ ยกเว้น MMR เป้าหมายไม่ต่ำกว่า ๙๕%พบว่า มีความครอบคลุมดังนี้

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ