กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
1.1กิจกรรมอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 26 ธ.ค. 2562 26 ธ.ค. 2562

 

อบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน

 

ซึ่งหลังจากที่วิทยากรได้ให้ความรู้แล้ววิทยากรก็ได้ให้ผู้เข้ารับการอบรมแบ่งกลุ่มกัน โดยมีคำถามที่เกี่ยวกับการอบรม ซึ่งวิทยากรได้ตั้งคำถามและให้แต่ละกลุ่มที่รู้คำตอบและคิดว่าถูกต้องที่สุดยกมือขึ้นเพื่อตอบคำถามที่วิทยากรถาม จากการสังเกตพบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาดังกล่าวเป็นอย่างดีและสามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง โดยอธิบายถึงทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี ร้อยละ 80 และทำให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ตนเองได้รับไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง โดยการตรวจฟันของตนเอง เพื่อเป็นการป้องกันโรคที่เกิดจากฟันผุได้

 

1.2กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเท้า ข้อเข่า ฝ่าเท้ 26 ธ.ค. 2562 26 ธ.ค. 2562

 

อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเท้า ข้อเข่า ฝ่าเท้า

 

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมให้มีความรู้และทักษะในการดูแลป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้
ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 7 10 16.67 8 10 16.67 8 10 16.67 9 15 25.00 9 15 25.00 10 35 58.33 10 25 41.66
รวม 60 100 รวม 60 100

    จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 7-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 41.66 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 คะแนน น้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 41.66 หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 8-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 58.33 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 คะแนน น้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 24.24 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 35 คน  คิดเป็นร้อยละ 58.33 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อละ 91.67 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33

 

1.3กิจกรรมนันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้มให้ผู้สูงอายุ 26 ธ.ค. 2562 26 ธ.ค. 2562

 

นันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้มให้ผู้สูงอายุ)

 

ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม โดยทางผู้จัดได้ใช้กิจกรรมเล่นเกมส์ ตอบคำถาม ฝึกทักษะการจดจำและใช้ไหวพริบ จากการสังเกตการทำกิจกรรมร่วมกันพบว่า ผู้สูงอายุมีความสุขในการเล่นเกมส์และมีความสนุกสนาน ยิ้มแย้มแจ่มใส สามารถตอบคำถามได้อย่างถูกต้องแม่นยำ และสามารถจดจำและใช้ไหวพริบในการเล่นเกมส์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งทำให้เห็นได้ชัดเจนว่าผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีและมีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน ร้อยละ 80

 

กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 1 7 ม.ค. 2563 7 ม.ค. 2563

 

วารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 1

 

กำลังดำเนินการจากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 2 14 ม.ค. 2563 14 ม.ค. 2563

 

บำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 2

 

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

กิจกรรมบำบัดข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 3 21 ม.ค. 2563 21 ม.ค. 2563

 

บำบัดข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 3

 

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

กิจกรรมบำบัดข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 4 28 ม.ค. 2563 28 ม.ค. 2563

 

บำบัดข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 4

 

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 5 4 ก.พ. 2563 4 ก.พ. 2563

 

บำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า  โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 5

 

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 6 11 ก.พ. 2563 11 ก.พ. 2563

 

บำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า  โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 6

 

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 7 18 ก.พ. 2563 18 ก.พ. 2563

 

บำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า  โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 7

 

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 8 25 ก.พ. 2563 25 ก.พ. 2563

 

บำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า  โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 8

 

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80