กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื่้อรังตามเกณฑ์ฯ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามเกณฑ์ฯ ร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและเปิดโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส
ตัวชี้วัด : 2.1 กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมความรู้ฯและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ ร้อยละ 80 2.2 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังการส่งเสริมความรู้ฯและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมในการดูแลสุขภาพอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี
0.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 550
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 110
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 110
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื่้อรังตามเกณฑ์ฯ (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจและเปิดโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส (3) เพื่อส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนเพิ่มขึ้น (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คืนข้อมูลสุขภาพแก่ประชาชน และร่วมกันสำรวจ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการ  เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ (2) ประชุมชี้แจง ผู้นำชุมชน/อสม./จิตอาสา/ทีมสุขภาพของหน่วยบริการ เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย (3) คัดกรองประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน (4) กิจกรรมส่งเสริมการมีความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส ให้แก่ ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและผู้ดูแลผู้ป่วย (5) ออกติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อที่มีปัญหาสุขภาพ ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงและผู้พิการ (6) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการณรงค์การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีในชุมชนอย่างต่อเนื่อง เช่น กลุ่ม อสม.ในแต่ละหมู่บ้าน (ออกกำลังกายหลังการประชุมประจำเดือน) , ผู้นำชุมชน (การประชุมหมู่บ้าน) , ผู้นำศาสนา (คุตบะฮ์วันศุกร์ในมัสยิด) (7) กิจกรรมส่งเสริมการมีความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคด้วยหลัก 3อ2ส ให้แก่ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ประชาชนทั่วไป (8) ประเมินผลการดำเนินงานและรายงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หน่วยบริการ อบต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh