กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก อสม. มีความรู้และทักษะ ในการส่งเสริมพัฒนาการ โภชนาการ สุขภาพช่องปากเด็กแรกเกิด- 5 ปี
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก อสม. มีความรู้และทักษะ ในการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการ สุขภาพช่องปากเด็กแรกเกิด-5 ปี
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กแรกเกิด-5ปี มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัย มีสุขภาพช่องปากที่ดี
ตัวชี้วัด : 2.เด็กแรกเกิด- 5 ปี ได้รับการคัดกรองภาวะการเจริญเติบโต คัดกรองพัฒนาการและตรวจสุขภาพช่องปากอย่างน้อยร้อยละ 85
0.00

 

3 เพื่อติดตามเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาพัฒนาการล่าช้าและการเจริญเติบโต ปัญหาทันตสุขภาพเด็กแรกเกิด–5 ปี
ตัวชี้วัด : 3.เด็กแรกเกิด-5 ปี ที่มีพัฒนาการล่าช้า ไม่สมวัย ได้รับการกระตุ้นและส่งต่อร้อยละ 90 4.เด็กแรกเกิด-5 ปี ได้รับการติดตามเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาการเจริญเติบโตร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก  อสม. มีความรู้และทักษะ ในการส่งเสริมพัฒนาการ โภชนาการ สุขภาพช่องปากเด็กแรกเกิด- 5 ปี (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กแรกเกิด-5ปี มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัย  มีสุขภาพช่องปากที่ดี (3) เพื่อติดตามเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาพัฒนาการล่าช้าและการเจริญเติบโต ปัญหาทันตสุขภาพเด็กแรกเกิด–5 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจรายชื่อและข้อมูลสภาพปัญหาเด็กแรกเกิด- 5 ปี ในพื้นที่ (2) ประกวดหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2563 (3) ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กและติดตามโภชนาการตามช่วงวัย (4) ในกรณีที่เด็กมีพัฒนาการล่าช้าไม่สมวัยและภาวะทุพโภชนาการให้การกระตุ้นและแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมพัฒนาการโภชนาการ สุขภาพช่องปาก (6) พัฒนานวัตกรรมเพื่อเป็นเครื่องมือในการกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (7) สาธิตการตรวจคัดกรองพัฒนาการและการประเมินการเจริญเติบโตเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh