กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายให้กับคนในชุมชน

(2) เพื่อสร้างต้นแบบและแกนนำการออกกำลังกายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) 1.ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการทำงาน

(2) 2.ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครผู้สนใจ

(3) 3.จัดอบรมให้ความรู้ในหลักการออกกำลังกาย และหลัก 3 อ. 2 ส.เพื่อสุขภาพ

(4) 4.ทดสอบสมรรถภาพร่างกาย/ประเมินร่างกาย ทำข้อตกลงร่วมกันในการออกกำลังกาย

(5) 5.กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยยางยืดเพื่อสุขภาพ

(6) 6.ประเมินผลการดำเนินงาน - ประเมินสุขภาพ ก่อนปละหลังกิจกรรม 3 เดือน - ประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม

ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ

  • ทำให้ประชาชนมีการออกกำลังกายที่เหมาะสมให้มากขึ้นและต่อเนื่อง ลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังที่ไม่ติดต่อ เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ความเครียด เป็นต้น

  • ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการแลกเปลี่ยน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร

  • ทำให้ประชาชนมีกิจกรรมการออกกำลังกายหลายรูปแบบ สามารถออกกำลังกายที่บ้านได้เอง

  • ทำให้แนวโน้ม BMI (ค่าดัชนีมวลกายของผู้เข้าร่วมกิจกรรม) ลดลงจากเดิมจำนวน 32 คน ได้ค่า BMI คงที่ 6 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 ได้ค่า BMI ลดลง 26 คน คิดเป็นร้อยละ 81.25

  • การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ไม่ผ่าน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2 ผ่าน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 98

ปัญหาและอุปสรรค

  • ดำเนินโครงการเสร็จล่าช้า เนื่องจากติดวิกกฤติสถานการณ์โรคระบาดโควิด 2019

ความพึงพอใจ

  • สมาชิกมีความพึงพอใจในเรื่องสุขภาพ เรื่องอารมร์ ความเครียด สร้างความสามัคคี

  • เสนอให้มีกิจกรรมต่อยอดการออกกำลังกายโยคะบำบัด

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ