กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ

  • ทำให้ประชาชนมีการออกกำลังกายที่เหมาะสมให้มากขึ้นและต่อเนื่อง ลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังที่ไม่ติดต่อ เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ความเครียด เป็นต้น

  • ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการแลกเปลี่ยน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร

  • ทำให้ประชาชนมีกิจกรรมการออกกำลังกายหลายรูปแบบ สามารถออกกำลังกายที่บ้านได้เอง

  • ทำให้แนวโน้ม BMI (ค่าดัชนีมวลกายของผู้เข้าร่วมกิจกรรม) ลดลงจากเดิมจำนวน 32 คน ได้ค่า BMI คงที่ 6 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 ได้ค่า BMI ลดลง 26 คน คิดเป็นร้อยละ 81.25

  • การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ไม่ผ่าน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2 ผ่าน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 98

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายให้กับคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
0.00 0.00

 

2 เพื่อสร้างต้นแบบและแกนนำการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีแกนนำ นำออกกำลังกายเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 32
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 30 32
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายให้กับคนในชุมชน

(2) เพื่อสร้างต้นแบบและแกนนำการออกกำลังกายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) 1.ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการทำงาน

(2) 2.ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครผู้สนใจ

(3) 3.จัดอบรมให้ความรู้ในหลักการออกกำลังกาย และหลัก 3 อ. 2 ส.เพื่อสุขภาพ

(4) 4.ทดสอบสมรรถภาพร่างกาย/ประเมินร่างกาย ทำข้อตกลงร่วมกันในการออกกำลังกาย

(5) 5.กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยยางยืดเพื่อสุขภาพ

(6) 6.ประเมินผลการดำเนินงาน - ประเมินสุขภาพ ก่อนปละหลังกิจกรรม 3 เดือน - ประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม

ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ

  • ทำให้ประชาชนมีการออกกำลังกายที่เหมาะสมให้มากขึ้นและต่อเนื่อง ลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังที่ไม่ติดต่อ เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ความเครียด เป็นต้น

  • ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการแลกเปลี่ยน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร

  • ทำให้ประชาชนมีกิจกรรมการออกกำลังกายหลายรูปแบบ สามารถออกกำลังกายที่บ้านได้เอง

  • ทำให้แนวโน้ม BMI (ค่าดัชนีมวลกายของผู้เข้าร่วมกิจกรรม) ลดลงจากเดิมจำนวน 32 คน ได้ค่า BMI คงที่ 6 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 ได้ค่า BMI ลดลง 26 คน คิดเป็นร้อยละ 81.25

  • การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ไม่ผ่าน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2 ผ่าน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 98

ปัญหาและอุปสรรค

  • ดำเนินโครงการเสร็จล่าช้า เนื่องจากติดวิกกฤติสถานการณ์โรคระบาดโควิด 2019

ความพึงพอใจ

  • สมาชิกมีความพึงพอใจในเรื่องสุขภาพ เรื่องอารมร์ ความเครียด สร้างความสามัคคี

  • เสนอให้มีกิจกรรมต่อยอดการออกกำลังกายโยคะบำบัด

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh