กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ 17 ก.พ. 2563 17 ก.พ. 2563

 

  • ลงทะเบียน/ประเมินความรู้ก่อนอบรม
  • บรรยาย  เรื่อง  หลักการและประโยชนของ การฝกกิจวัตรประจำวัน
  • บรรยาย  เรื่อง หลักการและประโยชนของการฟนฟูสมรรถภาพเบื้องต้น
  • พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • บรรยายพร้อมสาธิต  และฝึกปฏิบัติ  เรื่อง การจัดท่าทางที่ถูกต้องในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก/การบริหารข้อป้องกันข้อยึดติด วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยและการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ  วิธีการนวดบำบัดเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้พิการ/ทุพพลภาพ วิธีการกดจุดกระตุ้นการเคลื่อนไหวของร่างกาย
  • ตอบข้อซักถาม/สรุปผลการเรียนรู้
  • ประเมินความรู้หลังอบรม

 

1). จัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพชุมชนที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ  จำนวน  70  คน เมื่อวันที่  17  กุมภาพันธ์  2563  ณ  อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  ซึ่งมีในเรื่องความรู้เกี่ยวกับหลักการและประโยชนของการฝกกิจวัตรประจำวัน  หลักการและประโยชนของการฟนฟูสมรรถภาพเบื้องต้น  บรรยายพร้อมสาธิตและฝึกปฏิบัติ  เรื่อง  การจัดท่าทางที่ถูกต้องในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก/การบริหารข้อ  การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย/การใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ โดย นักกายภาพบำบัดจากโรงพยาบาลกันตัง การนวดบำบัดเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ  การกดจุดกระตุ้นการเคลื่อนไหว  โดย  แพทย์แผนไทยจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง 2).  ทดสอบความรู้ก่อน-หลังเข้ารับการอบรม  ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่อง การดูแลและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ (คำถามแบบกากบาทถูกผิดหน้าข้อความ จำนวน  10 ข้อๆ ละ 1 คะแนน  รวมคะแนนเต็ม 10 คะแนน) สามารถสรุปผลการประเมินได้  ดังนี้ - ก่อนการอบรม  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 70 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่  10  คะแนน  จำนวน  1  คน  รองลงมาคือ  9  คะแนน  จำนวน  12  คน  8  คะแนน  จำนวน  16  คน  7 คะแนน  จำนวน  23  คน  6  คะแนน  จำนวน  13  คน  5  คะแนน  จำนวน  4  คน  และคะแนนต่ำสุด  3  คะแนน  จำนวน  1  คน  จะเห็นได้ว่าก่อนการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้รับคะแนน  7  คะแนนมากที่สุด  คิดเป็นร้อยละ  32.86  รองลงมาคือ  8 คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  22.86,  6 คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  18.57 ,  9 คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  17.14 , 10 คะแนนและ  3  คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  1.43  เช่นเดียวกัน  ตามลำดับ - หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 60 ชุด พบว่าผู้เข้าอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่  10 คะแนน  จำนวน  19  คน  รองลงมาคือ  9  คะแนน  จำนวน  27  คน  8  คะแนน  จำนวน  9  คน  7  คะแนน  จำนวน  3  คน  และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่ 6 คะแนน  จำนวน  2  คน  จะเห็นได้ว่าหลังการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้คะแนน  9  คะแนนมากที่สุด  คิดเป็นร้อยละ  45  รองลงมาคือ  10 คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  31.67, 8  คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  15 ,  7  คะแนน  คิดเป็นร้อยละ 5, และ 6 คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  3.33  ตามลำดับ
3). ประเมินทักษะการดูแล/ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว  แก่แกนนำสุขภาพชุมชน  จำนวน  70  คน  ตามฐานการเรียนรู้จำนวน  4  ฐาน  ได้แก่ 3.1)  ฐานที่  1  การจัดท่าทางที่ถูกต้องในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก/การบริหารข้อ  ผลการประเมินผู้เข้าร่วมกิจกรรม  พบว่า  ผ่านการประเมินร้อยละ 100 3.2)  ฐานที่  2  การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย/การใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ  ผลการประเมินผู้เข้าร่วมกิจกรรม  พบว่า  ผ่านการประเมินร้อยละ 100 3.3)  ฐานที่  3  การนวดบำบัดเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ  ผลการประเมินผู้เข้าร่วมกิจกรรม    พบว่า  ผ่านการประเมินร้อยละ 100 3.4)  ฐานที่  4  การกดจุดกระตุ้นการเคลื่อนไหว  ผลการประเมินผู้เข้าร่วมกิจกรรม  พบว่า  ผ่านการประเมินร้อยละ 100

 

กิจกรรมเยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพ 20 ก.พ. 2563 19 ต.ค. 2563

 

จกรรมเยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพ  โดยอาสาสมัครดูแลคนพิการ

 

  1. กิจกรรมเยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพ  โดยอาสาสมัครดูแลคนพิการจำนวน  24  คน  ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน/ฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวในชุมชน  จำนวน  24  ราย  โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและนักกายภาพบำบัดจากโรงพยาบาลกันตัง  ร่วมลงพื้นที่ประเมิน/ติดตามการดูแลผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว  โดยมีรายชื่อผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว ที่ได้รับการเยี่ยมดังนี้ 1). นายวิเชียร  มานะสุวรรณ  (อายุ  60 ปี)  บ้านเลขที่  32/135  ถ.ขื่อนา 2). นางตั้งฉ่าย  จงเจตดี  (อายุ 86 ปี)  บ้านเลขที่  34/10 ถ.ขื่อนา 3). นางมาลี    คงเมคา  (อายุ 66  ปี)  บ้านเลขที่  31/2  ถ.กิตติคุณ 4). นางพิกุล    สร้อยทอง  (อายุ 77 ปี)  บ้านเลขที่  1/9  ถ.กิตติคุณ
    5). นางนารี  บัวเพชร  (อายุ  70 ปี)  บ้านเลขที่  111  ซ.1 ถ.รถไฟ
    6). นางนลินรัตน์  นิ่มแนบ  (อายุ 56 ปี) บ้านเลขที่  89  ถ.รถไฟ 7). นางสมนึก  ชะนะนาค  (อายุ  76 ปี)  บ้านเลขที่  79/2  ถ.รถไฟ 8). นายจิม  บัวชื่น  (อายุ 73 ปี)  บ้านเลขที่  11/7  ถ.รถไฟ 9). นายอำไพ  พันธุเสน  (อายุ 70 ปี)  บ้านเลขที่  15/14  ถ.รถไฟ 10). น.ส. อุไร  โตบุญ  (อายุ 77  ปี)  บ้านเลขที่  3/14 ถ.รถไฟ 11). นางกิ้มหั้ว  แซ่สอ  (อายุ 77  ปี)  บ้านเลขที่  40/12  ถ.รถไฟ 12). นางซกเกี้ยง    เศรษฐวรพันธุ์   (อายุ 85 ปี)  บ้านเลขที่  20  ถ.ตรังคภูมิ 13). นางจันทรา  หาญภักดี  (อายุ 65 ปี)  บ้านเลขที่  119/9  ถ.ตรังคภูมิ 14). นางสมศรี  หนักแน่น  (อายุ  69 ปี)  บ้านเลขที่  40/1  ถ.ค่ายพิทักษ์ 15). น.ส. สุภา  สิมสิงห์ (อายุ  59 ปี)  บ้านเลขที่  58/6  ถ.ค่ายพิทักษ์ 16). นายช่วย  อินทสุวรรณ  (อายุ  67 ปี) บ้านเลขที่  58/6  ถ.ค่ายพิทักษ์ 17). นางสุวรรณี  จารุวิทยากุล  (อายุ 73 ปี)  บ้านเลขที่  19  ซ.1 ถ.เขื่อนเพชร 18). นางพรทิพย์  สุกิจพิทยานนท์ (อายุ  84 ปี)  บ้านเลขที่  145  ถ.สถลสถานพิทักษ์ 19). นายอัฐพร  จริงจิตร  (อายุ 46 ปี)  บ้านเลขที่  46/31  ถ.คลองภาษี 20). นางบุญธรรม  ทักษิณธรรม  (อายุ  74  ปี)  บ้านเลขที่  44/9  ถ.คลองภาษี 21). นายสมชาย  จันทร์ก้าน  (อายุ  57 ปี)  บ้านเลขที่  316/40  ถ.ตรังคภูมิ 22). นายเปรม  เกลี้ยงจิตร  (อายุ  80 ปี)  บ้านเลขที่  31  ถ.ควนทองสี 23). นายสุเทพ  ชูแก้ว  (อายุ 56 ปี)  บ้านเลขที่  49/3  ถ.ควนทองสี 24). นายก๊กอิ้ว  ท่าห้อง  (อายุ  78 ปี)  บ้านเลขที่  59/11 ถ.ป่าไม้ 2) ผลการประเมิน/ติดตามการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวที่บ้านก่อน-หลังการฟื้นฟูสมรรถภาพ  ตามแบบประเมินกิจวัตรประจำวัน  (BARTHEL ACTIVITY OF DAILY LIVING SCALE)
    ซึ่งจากการประเมินกิจวัตรประจำวันหลังการฟื้นฟูสมรรถภาพ  พบว่า  ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหวส่วนใหญ่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ในระดับมาก  คิดเป็นร้อยละ  37.5  รองลงมา  คือ  ทํากิจวัตรประจําวันได้เองในระดับปานกลาง  คิดเป็นร้อยละ  25  ทํากิจวัตรประจําวันได้อย่างปกติ/มากที่สุด  คิดเป็นร้อยละ  8.33  ไม่สามารถทํากิจวัตรประจําวันได้เองต้องการความช่วยเหลืออย่างมาก  คิดเป็นร้อยละ  20.83  และไม่สามารถทํากิจวัตรประจําวันได้เองต้องการความช่วยเหลืออย่างมากที่สุด  คิดเป็นร้อยละ  8.33
    3.)  ผลการประเมินหลังการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยนักกายภาพบำบัด  พบว่า  ผู้พิการ/ทุพพลภาพทางการเคลื่อนไหว  มีกำลังกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น หรือ ดีขึ้น  จำนวน  17 ราย คิดเป็นร้อยละ  70.83  และมีกำลังกล้ามเนื้อคงที่หรือเท่าเดิม  จำนวน  7  ราย  คิดเป็นร้อยละ  29.17