กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ชุมชนเข้าใจถึงสภาพปัญหา และค้นพบข้อเท็จจริงร่วมกัน โดยผ่านการสะท้อนคิด/วิเคราะห์/วิจารณ์/ตรวจสอบข้อมูลอย่างมีเหตุผล รู้จักชุมชนของตัวเอง การตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติและการคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด : 1) ได้แผนการจัดการขยะร่วมกันในชุมชน หลังเสร็จสิ้นการคืนข้อมูล
0.00

 

2 เพื่อให้ภาคส่วนหลักของชุมชน (ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม.และอบต.) มีบทบาทในการกำหนดข้อตกลงร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : ได้ข้อตกลงชุมชนหรือกฎหมู่บ้านเพื่อการจัดการขยะร่วมกัน
0.00

 

3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนเพื่อการปรับปรุงสภาพแวดล้อมและจัดการขยะตกค้าง ในพื้นที่สาธารณะ
ตัวชี้วัด : ขยะตกค้างในที่สาธารณะลดลง
0.00

 

4 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในครอบครัวเพื่อการคัดแยกขยะ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมบริเวณบ้าน และลดปริมาณขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 4) ปริมาณขยะตกค้างจากครัวเรือนลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ชุมชนเข้าใจถึงสภาพปัญหา และค้นพบข้อเท็จจริงร่วมกัน โดยผ่านการสะท้อนคิด/วิเคราะห์/วิจารณ์/ตรวจสอบข้อมูลอย่างมีเหตุผล รู้จักชุมชนของตัวเอง การตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติและการคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่พึงประสงค์ (2) เพื่อให้ภาคส่วนหลักของชุมชน  (ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน อสม.และอบต.) มีบทบาทในการกำหนดข้อตกลงร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหาขยะในชุมชน (3) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนเพื่อการปรับปรุงสภาพแวดล้อมและจัดการขยะตกค้าง ในพื้นที่สาธารณะ (4) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในครอบครัวเพื่อการคัดแยกขยะ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมบริเวณบ้าน และลดปริมาณขยะในครัวเรือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคืนข้อมูลชุมชน จากสถานการณ์ปริมาณขยะชุมชนและจากการสนทนากลุ่มย่อย (2) กิจกรรมฮูกมปากัต (กลุ่มเปิดใจ) 2 ครั้ง (3) กิจกรรมทำความสะอาดปัดกวาดชุมชน (Big Cleaning Day) (4) กิจกรรมอบรมการจัดการขยะในครัวเรือน(ขยะต้นทาง)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh