กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.แหลมโพธิ์ ลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี -มีเครือข่ายกระตุ้นประชาชนในพื้นที่ ร่วมกันทำความสะอาดบ้านและกำจัดลูกน้ำยุงลาย ด้วยมาตราการ 3 เก็บ อย่างต่อเนื่อง -ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ ต่ำกว่า 10
-เครือข่ายสามารถการควบคุมโรคไข้เลือดออกภายในระยะเวลา 3 ชั่วโมง ลดการระบาดโรคไข้เลือดออก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.แหลมโพธิ์
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.แหลมโพธิ์ ลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
0.00

 

2 เพื่อสร้างเครือข่ายในการกระตุ้นประชาชนในพื้นที่ในการร่วมกันทำความสะอาดบ้านและกำจัดลูกน้ำยุงลายด้วยมาตราการ 3 เก็บอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายในการกระตุ้นประชาชนในพื้นที่ในการร่วมกันทำความสะอาดบ้านและกำจัดลูกน้ำยุงลายด้วยมาตราการ 3 เก็บอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

3 เพื่อสร้างเครือข่ายสำหรับควบคุมโรคไข้เลือดออกเพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกภายในระยะเวลา 3 ชั่วโมง
ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายสำหรับควบคุมโรคไข้เลือดออกเพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกภายในระยะเวลา 3 ชั่วโมง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 32 32
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 32 32
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.แหลมโพธิ์ (2) เพื่อสร้างเครือข่ายในการกระตุ้นประชาชนในพื้นที่ในการร่วมกันทำความสะอาดบ้านและกำจัดลูกน้ำยุงลายด้วยมาตราการ 3 เก็บอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อสร้างเครือข่ายสำหรับควบคุมโรคไข้เลือดออกเพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกภายในระยะเวลา 3 ชั่วโมง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพ่นหมอกควันภายใน 3 ชั่วโมงหลังได้รับรายงานพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ (2) กิจกรรมเสริมทักษะให้เครือข่ายป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรม Big Cleaning Day และรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลาย ด้วยมาตรการ 3 เก็บ ปีละ 1 ครั้ง (4) กิจกรรมพัฒนาทำความสะอาดในหมู่บ้านและรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายด้วยมาตรการ 3 เก็บ อย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh