กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน 2.ประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกมีศักยภาพดูแล และลดการแพร่ ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้ 3.ชุมชนร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก 4. ค่าดัชนีลุกน้ำยุงลาย (HI,CI) ลดลง ร้อยละ ๘๐ ของชุมชน วัด มัสยิด และโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี 2. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนและวัดมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 3. ร้อยละ 100 ของการควบคุมการระบาดโรคได้ตามมาตรฐาน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน  2.ประชากรทุกกลุ่มวัยในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกมีศักยภาพดูแล และลดการแพร่    ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้  3.ชุมชนร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก  4. ค่าดัชนีลุกน้ำยุงลาย (HI,CI) ลดลง ร้อยละ ๘๐ ของชุมชน วัด มัสยิด และโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำโครงการและประชาสัมพันธ์โครงการ 2.อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ประชาชนทั่วไป ผู้นำชุมชนและอสม. เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก 3.ร่วมกันสำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและประเมินค่า HI ,CI ในชุมชน วัด มัสยิด (2) 3.ร่วมกันสำรวจ ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและประเมินค่า HI ,CI ในชุมชน วัด มัสยิด และโรงเรียน โดยแกนนำ อสม. และประชาชน 4.ควบคุมการระบาดโดยกำจัดยุงพาหะ ด้วยวิธีพ่นหมอกควันครอบคลุมพื้นที่เป้าหมาย และเมื่อมีการระบาดซ้ำ 5.ประสานทีมพ่นประจำตำบลละหารพ่นหมอก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh