กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากผลการดำเนินงานโครงการดำเนินงานในศูนย์ผู้สูงอายุเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและส่งเสริมความสุข ๕ มิติของชุมชนบ้านท่าน้ำหัวนอน ปี ๒๕๖๐ ๑. มีจัดตั้งศูนย์ผู้สูงอายุเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและส่งเสริมความสุข ๕ มิติของชุมชนบ้านท่าน้ำหัวนอน ปี ๒๕๖๐ และมีพิธีการเปิดป้ายศูนย์ วันที่ ๒๗ กรกฏาคม ๒๕๖๐ โดยมี นายกเทศมนตรีเมืองพัทลุง นายสุเมธ บุญยก เป็นประธานในพิธี ๒. มีระบบข้อมูลของผู้สูงอายุที่ชัดเจนขึ้นโดยประเมินปัญหาและแบ่งกลุ่มผู้สูงอายุเป็น ๓ กลุ่ม คือ ติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง ได้ครอบคลุมร้อยละ ๙๐ ๓. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นร้อยละ ๑๐๐ และมีสมาชิกผู้สูงอายุสนใจสมัครเพิ่มจากเป้าหมายเดิม ๕๐ คนเป็น ๘๐ คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเป็นศูนย์ผู้สูงอายุป้องกันปัญหาสุขภาพจิต และส่งเสริมความสุข 5 มิติ ในผู้สูงอายุ ได้แก่ ด้านสุขสบาย ด้านสนุก ด้านสุขสง่า ด้านสุขสว่าง และด้านสุขสงบ
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความสุขเพิ่มขึ้นร้อยละ 70 2. อัตราการเกิดโรคซึมเศร้าเป็นศูนย์

 

2 เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการดูแลตนเองให้เข้มแข็ง มีคุณภาพชีวิตที่ดีเป็นต้นแบบในชุมชนด้านส่งเสริมสุขภาพ2
ตัวชี้วัด : เกิดศูนย์เรียนรู้ของผู้สูงอายุ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นศูนย์ผู้สูงอายุป้องกันปัญหาสุขภาพจิต และส่งเสริมความสุข 5 มิติ ในผู้สูงอายุ ได้แก่ ด้านสุขสบาย ด้านสนุก ด้านสุขสง่า ด้านสุขสว่าง และด้านสุขสงบ (2) เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการดูแลตนเองให้เข้มแข็ง มีคุณภาพชีวิตที่ดีเป็นต้นแบบในชุมชนด้านส่งเสริมสุขภาพ2

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh