กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน ผลผลิต  :
    -  แต่งตั้งคณะทำงาน SRRT (คณะทำงานควบคุมโรคเคลื่อนที่เร็วเข้มแข็ง) ตำบลชุมพล จำนวน 10 คน

- ทีมพ่นหมอกควันของอบต.ชุมพลได้รับการอบรมจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อโดยแมลงเขต 12 จำนวน 3 คน - จัดเวทีประชาคมและร่วมกันหามาตรการในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดในพื้นที่หมู่ที่ 2 จำนวน 1 ครั้ง - รณรงค์กำจัดขยะและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายร่วมกับอบต. โรงเรียนวัดนางเหล้า ผู้นำชุมชนและอสม.ในพื้นที่หมู่ที่ 2 จำนวน 1 ครั้ง - จัดทำแผ่นไวนิลประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกในทุกหมู่บ้าน .จำนวน 3 แผ่น - ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ในรูปแบต่างๆ           * จัดกิจกรรมรณรงค์ในทุกหมู่บ้านจำนวน 4 ครั้งพร้อมทั้งให้สุขศึกษารายบุคคล รายกลุ่ม แจกแผ่นพับไข้เลือดออก
          *  ให้ความรู้ทางหอกระจายข่าว ในช่วงที่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก - จัดกิจกรรมรณรงค์ สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายโดยวิธีทางชีวภาพ กายภาพ
และวิธีทางเคมีโดยเครือข่าย อสม.และเจ้าของงบ้าน และรายงานผลส่งสสอ.เดือนละ 1 ครั้ง รวม 11 ครั้ง - พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนเปิดภาคเรียน 1  ครั้ง ห่างกัน  1  สัปดาห์ รวม 4 ครั้ง - พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในจากการที่ได้รับรายงานผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน  5 ราย ๆละ 2  ครั้ง ห่างกัน  1  สัปดาห์ รวม 10 ครั้ง - เฝ้าระวังการเกิดโรคในพื้นที่  พร้อมแจ้งสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ จำนวน  ครั้ง
ผลตัวชี้วัด 1. รพ.สต. โรงเรียน ศูนย์พัฒาเด็กเล็ก วัด มัสยิด มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย  CI= 0 /ในหมู่บ้านมีค่า HI
น้อยกว่า 10 ( แต่ในบางหมู่บ้าน/บางเดือน มากกว่าร้อยละ 10) 2.  ปี พ.ศ 2560 (มกราคม – กันยายน 2560  มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 1 ราย อัตราป่วย 47.30 ต่อแสนปชก. ร้อยละ 15 ของค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง (2555-2559) - ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ระดับ5

ผลการประเมินตามประเด็นที่ระบุไว้ในแผนงาน/โครงการ
1. ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) 2. 6.1 ปัจจัยนำเข้า(ทรัพยากร เครื่องมือ) - อสม/ SRRT.อำเภอ /SRRT.ตำบล/เครือข่ายสุขภาพ. - ครภัณฑ์และวัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันและกำจัดยุงลาย (โลชั่นทากันยุง สเปรย์ฉีดยุง ทรายทีมีฟอส ปลาหางนกยูง ) - แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย

6.2  กระบวนการ กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน การสำรวจปัญหา


การของบประมาณสนับสนุน


-สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

  • การสุ่มตรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน


    การพ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย





    การควบคุมการระบาดของโรค - จัดเวทีประชาคมสุขภาพเพื่อชี้แจงสภาพปัญหา ร่วมแสดงความคิดเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา
  • ประชุมชี้แจงแก่คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลชุมพล

-อสม.สำรวจให้คำแนะนำและร่วมกำจัด ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์กับเจ้าของบ้าน - การสุ่มตรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชนแบบไขว้หมู่บ้าน

  • พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในโรงเรียน/ได้รับรายงานผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทุกรายๆละ 2  ครั้ง ห่างกัน  1  สัปดาห์ จ่ายโลชั่นทากันยุงแก่ผู้ที่สงสัยว่าจะป่วยด้วยโรค - การจัดเวทีประชาคม
  • ข้อมูลจากรง. 506


  • การประชุม ร่วมแสดงความคิดเห็น ความจำเป็นของปัญหา/ การสนับสนุนงบประมาณ

    -แบบสำรวจ -ทรายทีมีฟอส,

  • ปลาหางนกยูง

  • แผนการการสุ่มตรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย 3 เดือนครั้ง


  • คนพ่น เครื่องพ่นฯ  น้ำมัน น้ำยาพ่นหมอกควัน ยานพาหนะ


  • โลชั่นทากันยุง

  • สเปร์กำจัดยุง - โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขมีความสำคัญ เป็นลำดับ 2


  • เกิดโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบูรณาการแบบยั่งยืน ปี 2560

  • อสม.ส่งรายครบทุกเดือน บางเดือน พบค่าHI CI ไม่เกินเกณฑ์

  • ผลการการสุ่มตรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน พบเกินเกณฑ์.ในบางหมู่บ้าน

  • พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  จำนวน 4 ครั้ง
  • พ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัยในกรณีที่ได้รับรายงานผู้ป่วยหรือผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 5 ราย  รวม 10











กิจกรรม วิธีการ เครื่องมือ ผลการประเมิน





การส่งสริมความรู้/ประชาสัมพันธ์โครงการ








เฝ้าระวังการเกิดโรคในพื้นที่  พร้อมวิเคราะห์สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ไข้เลือดออกที่มารับบริการรักษาที่รพ.สต./โรงพยาบาลทุกราย - ใช้สเปรย์ฉีดยุงในบ้านของผู้ป่วยกรณีที่ไม่สามารถพ่นหมอกควันได้ทันที - ชี้แจงในเวทีประชาคม --การประชุมของ คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล/คณะกรรมการSRRT.อำเภอ/ตำบล -การประชุมประจำเดือนของอสม.-ให้ความรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น แผ่นไวนิล แจกเอกสาร/แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายข่าว - อบรมให้ความรู้และฝึกทักษะการพ่นหมอกควันแก่แกนนำ

  • การรายงานผู้ป่วยทาง E mail และทางโทรศัพท์
  • การแจ้งสถานการณ์โรคไข้เลือดออกแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกเดือน





  • จนท.รพ.สต

  • คณะกรรมการSRRT.อำเภอ/ตำบล
  • อสม.
  • แผ่นไวนิล
  • แจกเอกสารแผ่นพับ
  • หอกระจาย


  • E mail /line ของงานควบคุมโรคติดต่ออำเภอสทิงพระ

  • เอกสารแจ้งสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ครั้ง
  • ไม่มีผู้ป่วยรายที่ 2 ในหมู่บ้านเดียวกันในระยะเวลา 1 เดือน


หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ประชาชนในพื้นที่ให้ความสำคัญ/ความร่วมมือมากขึ้น - อบต.รับผิดชอบในการพ่นหมอกควันทุกหมู่บ้าน





- ทราบข้อมูลผู้ป่วยรวดเร็วทำให้การสอบสวนโรคและควบคุมการระบาดของโรคได้อย่างรวดเร็ว


ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 2. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์ กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย 3.เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร ชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของรพ.สต. โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด มัสยิด มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายCI= 0 /ในหมู่บ้านมีค่า HI น้อยกว่า 10 2. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก น้อยกว่าร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง (2555-2559) 3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ระดับ 5

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้ายโรคไข้เลือดออก 2. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์ กำจัดลุกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย 3.เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร ชุมชน และประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh