กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
50.00 60.00

 

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
50.00 60.00

 

3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน
50.00 60.00

 

4 1. เพื่อให้เด็กในเขตรับผิดชอบได้รับความรู้ การป้องกันการจมน้ำ การช่วยเหลือคนจมน้ำ และการฝึกทักษะการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด 2.เพื่อให้อาสาสมัคร ผู้นำชุมชนได้รับความรู้ ด้านการป้องกันการจมน้ำ ประชาสัมพันธ์ และการช่วยเหลือคนจมน้ำ 3. ปรับปรุงภูมิทัศน์แหล่งน้ำที่มีจุดเสี่ยง เพื่อป้องกันการจมน้ำ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (3) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน (4) 1. เพื่อให้เด็กในเขตรับผิดชอบได้รับความรู้ การป้องกันการจมน้ำ การช่วยเหลือคนจมน้ำ และการฝึกทักษะการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด 2.เพื่อให้อาสาสมัคร ผู้นำชุมชนได้รับความรู้ ด้านการป้องกันการจมน้ำ ประชาสัมพันธ์ และการช่วยเหลือคนจมน้ำ 3. ปรับปรุงภูมิทัศน์แหล่งน้ำที่มีจุดเสี่ยง เพื่อป้องกันการจมน้ำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. วิเคราะห์ข้อมูลการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่แหล่งน้ำที่มีจุดเสี่ยง 2.ปรับปรุงภูมิทัศน์ และจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือคนจมน้ำในแหล่งน้ำที่เสี่ยง 3.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในเขตรับผิดชอบได้รับทราบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh