กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เป็นโครงการฝึกอบรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอย สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและหมู่บ้านในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และให้หมู่บ้านในเขตตำบลกันตังใต้ สะอาดน่าอยู่ ปลอดโรค ประชาชนสุขภาพแข็งแรง ซึ่งจัดขึ้นในวันศุกร์ที่ 11 สิงหาคม 2560 มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 100 คน มีการบรรยายหัวข้อ 1) ความเป็นมาของการจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิล 2) ประเภทของขยะมูลฝอย 3) การคัดขยะทที่ต้นทาง 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะท้้ง 4 ประเภท (ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป) และมีการแยกขยะก่อนท้ิงภายในครัวเรือน
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อกระตุ้นและเพิ่มแรงจูงใจให้ประชาชนและชุมชนได้ตระหนักและรับรู้ถึงความจำเป็นในการคัดแยกขยะมูลฝอย และการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อลดปริมาณขยะที่ต้องนำส่งไปกำจัดให้น้อยลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 และลดภาระการกำจัดขยะที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :

 

4 4. เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับองค์กรอื่น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อนำมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์กับครัวเรือนของตนเอง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะท้้ง 4 ประเภท (ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป) และมีการแยกขยะก่อนท้ิงภายในครัวเรือน (2) 2. เพื่อกระตุ้นและเพิ่มแรงจูงใจให้ประชาชนและชุมชนได้ตระหนักและรับรู้ถึงความจำเป็นในการคัดแยกขยะมูลฝอย และการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย (3) 3. เพื่อลดปริมาณขยะที่ต้องนำส่งไปกำจัดให้น้อยลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 และลดภาระการกำจัดขยะที่มีประสิทธิภาพ (4) 4. เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับองค์กรอื่น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อนำมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์กับครัวเรือนของตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh