กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ของเทศบาลนครตรัง
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่ของเทศบาลนครตรังมีความรู้ในการป้องกันตนเองอย่างครอบคลุม
0.00 0.00

ไม่พบการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19) ในเขตพื้นที่เทศบาลนครตรัง

2 เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : มีการจัดซื้ออุปกรณ์/เครื่องมือที่จำเป็นในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
0.00

มีวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการดำเนินงาน ทำให้สามารถป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019-(COVID) ได้

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ของเทศบาลนครตรัง (2) เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการใช้รถประชาสัมพันธ์ ออกรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชน และติดป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน ทำให้ประชาชนมีความสนใจสนใจ มีความตระหนักและให้ความร่วมมือในการดูแลป้องกันสุขภาพของตนเองและครอบครัวมากขึ้น (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ อบรม ให้ความรู้กับประชาชนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตน สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) ได้ (3)กิจกรรมสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีการดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ และมีการจัดซื้อซื้ออุปกรณ์/เครื่องมือที่จำเป็นในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1).ควรมีการกระตุ้นให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) ด้วยการให้ความรู้เรื่องโรค การป้องกันตนเองจากการเสี่ยงสัมผัสโรค การหลีกเลี่ยงสถานที่แออัด การดูแลสุขภาพของคนในครอบครัว เป็นต้น (2).จัดให้มีการประชาสัมพันธ์ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อกระตุันให้ประชาชนรู้จักการป้องกันตนเองและบุคคลในครอบครัว

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh