กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน หน่วยงานที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตีย ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพัตมีซัม  ตาเย๊ะ วันที่/สถานที่จัดกิจกรรม วันที่ ๙  เดือนพฤศจิกายน  พ.ศ.๒๕๖๐  ณ  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตีย                                         วันที่ ๑๓  เดือนพฤศจิกายน  พ.ศ.๒๕๖๐  ณ  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต                                         วันที่ ๑๖  เดือนพฤศจิกายน  พ.ศ.๒๕๖๐  ณ  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ ๑. ผลที่ได้จากการดำเนินงาน ๑.๑ เชิงปริมาณ
    - ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน  ๒๔๔  คน ผู้เข้าอบรม  ๒๔๔คน  ผ่านการอบรมร้อยละ ๑๐๐ ๑.๒เชิงคุณภาพ
    - ผู้ป่วยจิตเวชมีความรู้ ความเข้าใจ  และมีทักษะในการดูแลตัวเองสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้     - ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวช และครอบครัวมีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช สามารถปฏิบัติต่อผู้ป่วยจิตเวชได้และป้องกันปัญหาอาการกำเริบของผู้ป่วยได้     - ผู้ดูแลและเครือข่ายมีความร่วมมือในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช     - ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง     - ผู้ป่วยจิตเวชรายใหม่เข้ารับการรักษาในสถานบริการรัฐเพิ่มขึ้น ๒. ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ระบุแหล่งงบประมาณและค่าใช้จ่ายตามประเภทเช่นค่าตอบแทน ค่าใช้สอบ ค่าวัสดุ ฯลฯ สนับสนุนงบประมาณโครงการฯจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบูกิต จำนวน  ๓๑,๓๐๐  บาท
รายละเอียด  ดังนี้ กิจกรรม  เรื่องการให้ความรู้ผู้ดูแลและผู้ป่วยเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเวช - ค่าวัสดุสำนักงาน  (ในการจัดอบรม)         เป็นเงิน    ๒,๕๘๐  บาท - ค่าวิทยากร  ชม.ละ  ๖๐๐  บาท × ๒ ชม. × ๓ รพ.สต. เป็นเงิน    ๓,๖๐๐  บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน ๒๔๔ คน x ๒๕ บาท x ๒ มื้อ เป็นเงิน  ๑๒,๒๐๐  บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๒๔๔ คน x ๕๐ บาท x ๑ มื้อ เป็นเงิน  ๑๒,๒๐๐  บาท - ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์  ๑.๒ × ๒.๔ × ๑ เป็นเงิน      ๗๒๐  บาท รวมทั้งสิ้นเป็นเงิน  ๓๑,๓๐๐  บาท(สามหมื่นหนึ่งพันสามร้อยบาทถ้วน) - ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตัวเอง
ตัวชี้วัด :

 

2 2.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึงบริการของรัฐมากขึ้น
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 244
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 122
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 122
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตัวเอง (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึงบริการของรัฐมากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh