กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร


“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร ”

ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาตีมะห์ ปูเต๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร

ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4120-05-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4120-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 31 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 90,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ มีรายงาน ๑๕๒ ประเทศ ๒ เขตบริหารพิเศษ ๑ นครรัฐ เรือ Diamond Princessและ เรือ Grands Princess ในวันที่ ๑๕ มีนาคม จํานวน ๑๕๗,๕๑๑ ราย มีอาการรุนแรง ๕,๖๔๙ ราย เสียชีวิต ๕,๘๔๕ ราย โดยมียอดผู้ป่วย ยืนยันในพื้นที่ที่มีการระบาดอย่างเนื่อง ได้แก่ จีน ๘๐,๘๔๔ ราย ฮ่องกง ๑๔๒ ราย มาเก๊า ๑๐ ราย เกาหลีใต้ ๘,๑๑๒ ราย อิตาลี ๒๑,๑๕๗ ราย อิหร่าน ๑๒,๗๒๙ ราย ฝรั่งเศส ๔,๔๙๙ ราย สเปน ๖,๓๙๑ ราย เยอรมนี ๔,๖๔๙ ราย ญี่ปุ่น ๘๒๕ ราย สิงคโปร์ ๒๑๒ ราย และไต้หวัน ๕๙ ราย และ ประเทศไทยมีการติดเชื้อลักษณะ เป็นกลุ่มก้อน ๑๑ ราย ผู้ป่วยยืนยันสะสม รวม ๑๑๔ ราย รายใหม่ ๑ รายและมีเสียชีวิต ๑ ราย (กรมควบคุม โรค, ๒๕๖๓) เมื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๓ องค์การอนามัยโลก ได้ประกาศให้การระบาดของโรคดังกล่าวเป็น ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public health emergency of international Concern (PHEIC) เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ มีการประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิด G (Coronavirus Disease ๒๐๑๙ (COVID) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๖ (๑) แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๔ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสําคัญของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.๒๕๑๓ จากการประกาศ สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ เรื่องสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ฉบับที่ ๒/๒๕๖๓ จากคณะกิจกรรมพบปะทางศาสนา (ตับลีฆ) ที่ มัสยิด ซื้อรี ซื้อตาลิง กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ระหว่างวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยมีจํานวนผู้เข้าร่วมกว่า 90,000 คน และต่อมาได้มีการตรวจพบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) หลังจาก เข้าร่วมการชุมนุมดังกล่าว ทั้งนี้ ปรากฎรายงานข่าวว่ามีคนไทยเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว จํานวน ๑๓๒ คน รวมทั้งผู้ใกล้ชิดของผู้เข้าร่วมกิจกรรมข้างต้น ได้ตรวจผู้ป่วยในงานดังกล่าวพบว่า มีผู้ป่วย สัญชาติมาเลเซียรวม ๔๐ คน สัญชาติสิงคโปร์ ๒ คน สัญชาติบรูไน ๑๖ คน และติดเพิ่มเติมภายหลังอีก ๑ รุ่น4 คน และจํานวนคนไทยที่เข้ารวม อีก ๑๓๒ คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประชาชนจาก ๕ จังหวัดชายแดนใต้ เป็นชาว จังหวัดยะลา ๓๐ คน ที่เข้าร่วมการชุมนุมครั้งนี้ และมีรายงานการเข้ารายงานตัวเพื่อคัดกรอง เพื่อตรวจหาเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COMID-๑๙) อยู่ระหว่างการกักตัวภายใน ๑๔ วัน ในภูมิลําเนาของตนเอง แม้ว่ามีความ พยายามในการควบคุมโรค โดยการตรวจจับผู้ป่วยให้ได้อย่างรวดเร็ว แยกโรค และติดตามผู้สัมผัสผู้ป่วยทุกราย ทําให้การระบาดยังอยู่ในวงจํากัดในระยะที่ผ่านมา (Phase ๒) อย่างไรก็ตามยังคงมีความเสี่ยงสูงที่ประเทศไทย จะพบการระบาดในวงกว้าง ระยะที่ ๓ (Phase ๓ widespread local transmission) เป้าหมายที่สําคัญคือ ลดโอกาสการแพร่เชื่อเข้าสู่เขตเมืองและชะลอการระบาด เพื่อให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคให้อยู่ใน วงจํากัด ลดผลกระทบทางสุขภาพ รวมถึงสามารถดูแลประชาชนและผู้เดินทางจากต่างประเทศ ให้ปลอดภัย จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙๙) ตามหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อได้อย่างมี ประสิทธิภาพ องค์การบริหารส่วนตําบลบ้านแหร มีความจําเป็นที่ต้องมีมาตรการ เฝ้าระวัง ป้องกัน เน้นการ ชะลอการระบาด ลดผลกระทบ และเพื่อรับสถานการณ์การระบาดในระยะที่ ๓ (Phase ๓ widespread local transmission) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย พิจารณาแล้วเห็นว่า เพื่อการเฝ้า ระวังและป้องกันการระบาดของโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๗) จึงขอความร่วมมือ จังหวัดแจ้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดําเนินการตามที่กระทรวงมหาดไทยว่า ตามหนังสือกรมส่งเสริม ปกครองท้องถิ่นที่ มท ๐๘๑๔.๒/ว ๔๗๐ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๖๓ เรื่อง การป้องกันและควบคุม การ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมดําเนินและ บริหารจัดการในระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จัดทําแผนงาน โครงการหรือกิจกรรมปกครองท้องถิ่นที่ มท ๐๘๑๙.๒/ว ๔๗๐ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๖๓ เรื่อง การป้องกันและควบคุม การ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมดําเนินและ บริหารจัดการในระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จัดทําแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่และตาม ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประกาศ ณ วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๐ เรื่อง หลักเกณฑ์ เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดําเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับ ท้องถิ่น หรือพื้นที่ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๑๐ (๒) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมสร้าง เสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคขององค์กรหรือกลุ่มประชาชน หรือหน่วยงานอื่น ว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพื่อ ช่วยเหลือประชาชน ตามอํานาจหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 5 กรณี เกิดสาธารณภัยในพื้นที่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่ว่าจะมีการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน หรือไม่ก็ตาม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถดําเนินการช่วยเหลือประชาชน ในเบื้องต้น โดยฉับพลันทันที เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน ประกอบกับพระราชบัญญัติสภาตําบลและองค์การ บริหารส่วนตําบล พ.ศ.๒๕๓๗ แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 5 พ.ศ.๒๕๕๒ มาตรา ๖๗ ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตําบล มีหน้าที่ต้องทําในเขต องค์การบริหารส่วนตําบล ดังต่อไปนี้ ข้อ(๓) ป้องกันโรคและ ระงับโรคติดต่อ พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๖ (๑๙) เทศบาล องค์การบริหารส่วนตําบล และเมืองพัทยามีอํานาจหน้าที่ในการ สาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COMID-๑๙) ที่อาจเกิดขึ้น แก่ประชาชนเสี่ยงต่อการสัมผัสโรค โดยเฉพาะผู้ประกอบอาชีพที่มีความใกล้ชิดกับผู้รับบริการ เช่น ผู้บริการส่ง อาหารด้วยรถจักรยานยนต์ ผู้ประกอบการอาหาร ร้านค้า ช่างเสริมสวย ผู้ให้บริการรถสาธารณะ และอาชีพให้บริการอื่นๆ ซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคดังกล่าว จึงจําเป็นป้องกันการแพร่การระบาด ในประชาชนที่ มีภาวะ เสียง จังหวัดยะลาจึงให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดําเนินการประชาสัมพันธ์ระมัดระวัง และป้องกัน การระบาด องค์การบริหารส่วนตําบลบ้านแหรจึงได้จัดทํา “โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) องค์การบริหารส่วนตําบลบ้านแหร” ด้วยกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ เรื่อง การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๔ (COVID-๑๙) และการให้ความรู้การป้องกันตนเอง การสวม หน้ากาก อนามัย การล้างมือด้วยน้ําและสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์ แก่กลุ่มประชาชนที่มีอาชีพเสี่ยงต่อการสัมผัส โรค รวมทั้งเป็นการประชาสัมพันธ์การป้องกัน และเฝ้าระวังควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙ (COVID๑๙) รวมถึงช่วยลดผลกระทบทางด้านสุขภาพสังคม และเพิ่มความมั่นใจให้กับประชาชนในเขตองค์การบริหาร ส่วนตําบลบ้านแหร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๔) ในเขตตําบลบ้านแหร
  2. ๒. เพื่อประชาสัมพันธ์และเตรียมความพร้อมในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
  2. 2.จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์ป้องกัน และสนับสนุนการคัดกรองผู้ติดเชื้อ
  3. 3. จัดทำหน้ากากอนามัยจากผ้า และแจกจ่ายให้ประชาชนในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 11
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในตำบลบ้านแหร ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID19) น้อยลง 2. ประชาชนในตำบลบ้านแหร สามารถควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID19) ได้ด้วยตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

วันที่ 14 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 โดยการทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์การป้องกันตัวเอง โดยทีมงานจะลงพื้นที่แจกแผ่นพับตามบ้านเรือน รวมถึงตลาดนัดแถวนัดแถวตำบลบ้านแหร ร้านค้าต่างๆและป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ประชาชนอยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติ ติดป้ายบนรถยนต์เปิดเสียงตามสายลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ทั่วทุกพื้นที่ตำบลบ้านแหร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนในตำบลบ้านแหร ติดเชื้อไวรัสโคโรนา น้อยลง 2.ประชาชนในตำบลบ้านแหรสามารถควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาได้ด้วยตนเอง

 

11 0

2. 2.จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์ป้องกัน และสนับสนุนการคัดกรองผู้ติดเชื้อ

วันที่ 14 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ระยะเตรียมความพร้อม ๑. เขียนโครงการและนําเสนอแก่ที่ประชุมคณะกรรมการ ๒.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตําบลบ้านแหร ๓. ติดต่อวิทยากร ๔. ประสานงานกับหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง ๕. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์และสถานที่ในการจัดกิจกรรม
ระยะดําเนินการ ๑. ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๔) ในเขตองค์การบริหารส่วนตําบล บ้านแหร ๒. สนับสนุนคัดกรองผู้ติดเชื้อ ในตําบลบ้านแหร 3. จัดทำหน้ากากอนามัยจากผ้า เพื่อแจกจ่ายให้ประชาชนในเขตตำบลบ้านแหร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนในตำบลบ้านแหร ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID19) น้อยลง 2. ประชาชนในตำบลบ้านแหร สามารถควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID19) ได้ด้วยตนเอง

 

0 0

3. 3. จัดทำหน้ากากอนามัยจากผ้า และแจกจ่ายให้ประชาชนในพื้นที่

วันที่ 14 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ระยะเตรียมความพร้อม ๑. เขียนโครงการและนําเสนอแก่ที่ประชุมคณะกรรมการ ๒.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติจากคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตําบลบ้านแหร ๓. ติดต่อวิทยากร ๔. ประสานงานกับหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง ๕. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์และสถานที่ในการจัดกิจกรรม
ระยะดําเนินการ ๑. ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๔) ในเขตองค์การบริหารส่วนตําบล บ้านแหร ๒. สนับสนุนคัดกรองผู้ติดเชื้อ ในตําบลบ้านแหร 3. จัดทำหน้ากากอนามัยจากผ้า เพื่อแจกจ่ายให้ประชาชนในเขตตำบลบ้านแหร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนในตำบลบ้านแหร ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID19) น้อยลง 2. ประชาชนในตำบลบ้านแหร สามารถควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID19) ได้ด้วยตนเอง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เมื่อช่วง เดือน เมษายน – พฤษภาคม 2563 พบว่าองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร ได้ดำเนินกิจกรรมทั้งหมด 3 ประเภท กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 โดยการทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์การป้องกันตัวเอง โดยทีมงานจะลงพื้นที่แจกแผ่นพับตามบ้านเรือน รวมถึงตลาดนัดแถวตำบลบ้านแหร ร้านค้าต่างๆ และป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ประชาชนอยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติ ติดป้ายบนรถยนต์เปิดเสียงตามสายลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ทั่วทุกพื้นที่ตำบลบ้านแหร กิจกรรมที่ 2 การจัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์ป้องกัน และสนับสนุนการคัดกรองผู้ติดเชื้อ เพื่อใช้ในการดำเนินการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 กิจกรรมที่ 3 จัดทำหน้ากากอนามัย และแจกจ่ายให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลบ้านแหร ทั้งหมด 11 หมู่บ้าน เป้าหมายในกาเย็บหน้ากากอนามัยครั้งนี้อยู่ที่ 7,000 ชิ้น เพื่อลดภาระการใช้จ่ายของประชาชนในตำบลและสนับสนุนให้ประชาชนเฝ้าระวังควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ร่วมถึงช่วยลดผลกระทบทางด้านสุขภาพ สังคม และเพิ่มความมั่นใจให้กับประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหรด้วย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๔) ในเขตตําบลบ้านแหร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ชาวตำบลบ้านแหรเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อโคโรนา 2019
0.00

 

2 ๒. เพื่อประชาสัมพันธ์และเตรียมความพร้อมในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนมีความพร้อมในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 11 11
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 11 11
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๔) ในเขตตําบลบ้านแหร (2) ๒. เพื่อประชาสัมพันธ์และเตรียมความพร้อมในการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (2) 2.จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์ป้องกัน และสนับสนุนการคัดกรองผู้ติดเชื้อ (3) 3. จัดทำหน้ากากอนามัยจากผ้า และแจกจ่ายให้ประชาชนในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร

รหัสโครงการ 63-L4120-05-01 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2563 - 31 พฤษภาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4120-05-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฟาตีมะห์ ปูเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด