กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีงบประมาณ 2563 หน่วยงานที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 22,640 บาท วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน และลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไม่ให้ขยายตัวเป็นวงกว้างจนยากแก่การควบคุม ตัวชี้วัดความสำเร็จ (1) ร้อยละ 100 มีเครือข่ายคณะทำงานในการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในหมู่บ้าน (2) ร้อยละ 100 ในหมู่บ้านไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)

กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน

กิจกรรมที่ 2 เฝ้าระวัง และสังเกตอาการผู้ที่เดินทางกลับจากประเทศที่เป็นเขตโรคติดต่อหรือพื้นที่ระบาดต่อเนื่อง

กิจกรรมที่ 3 ควบคุม ทำความสะอาด ฆ่าเชื้อ สถานที่พักของผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อ หรือสถานที่มีความเสี่ยงที่มีการรวมตัวของคนหมู่มาก เช่น ถ้ำเขาจำปา โรงเรียน เป็นต้น เพื่อป้องกันมิให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ

กิจกรรมที่ 4 การประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้ แก่ประชาชนทั่วไปในหมู่บ้าน

กิจกรรมที่ 5 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้


ผลการดำเนินงาน

  1. มีเครือข่ายคณะทำงานในการเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในหมู่บ้าน ร้อยละ 100 โดยการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน และแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 14 คน

  2. ร้อยละ 100 ในหมู่บ้าน ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) จากการเฝ้าระวังในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงได้รับการติดตาม เฝ้าระวัง และสังเกตอาการอย่างต่อเนื่อง จำนวน 14 วัน จำนวน 66 ราย และมีจุดตรวจคัดกรองจำนวน 1 แห่ง

  3. ทำความสะอาด พ่นยาฆ่าเชื้อในพื้นที่เสี่ยง เช่น มัสยิดในชุมชน จำนวน 1 แห่ง

  4. รณรงค์/ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย ให้ความรู้กับประชาชนในหมู่บ้าน เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า -2019 (COVID -19)
  5. ประชาชนหมู่ที่ 1 บ้านควนไสน ได้รับการแจกจ่ายหน้ากากผ้าจากองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพงและกองทุนหลักประกันสุขภาพ จำนวน 1,921 ชิ้น คลอบคลุมทุกหลังคาเรือน จำนวน 683 ครัวเรือน

ซึ่งการดำเนินโครงการครั้งนี้ สามารถควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพได้ทันต่อสถานการณ์และไม่มีอุบัติการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านควนไสน


ปัญหาอุปสรรค

  • จากการลงเยี่ยมติดตาม และสังเกตอาการผู้ที่ถูกกักตัว จำนวน 14 วัน ที่เดินทางมาจากต่างจังหวัด พบว่าผู้ถูกกักตัวส่วนหนึ่งอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในบ้าน และไม่ได้ใส่หน้ากากอนามัยในการป้องกันตนเอง

ข้อเสนอแนะ

  • คณะทำงานลงพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง เยี่ยมผู้ที่เดินทางกลับมาจากต่างจังหวัดหรือพื้นที่ที่มีความเสี่ยง เพื่อให้ความรู้และคำแนะนำในการปฏิบัติตัวกับผู้ที่ถูกกักตัว
คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
  1. จากการลงเยี่ยมติดตาม และสังเกตอาการผู้ที่ถูกกักตัว จำนวน 14 วัน ที่เดินทางมาจากต่างจังหวัด พบว่าผู้ถูกกักตัวส่วนหนึ่งอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในบ้าน และไม่ได้ใส่หน้ากากอนามัยในการป้องกันตนเอง
เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ