กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ 2 การให้ความรู้ในการป้องกันฟันผุ การดูแลทำความสะอาดช่องปาก การตรวจฟันด้วยตนเองและอาหารที่ส่งผลต่อโรคฟันผุ 3 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการ 4 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ผลการดำเนินงาน 1. ได้มีการรณรงค์ออกประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการตรวจช่องปาก และมีความรู้ในการดูแลช่องปากที่ถูกต้อง 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น      ร้อยละ 87.10 3.กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการระดับมาก ร้อยละ 91.18 4.ผู้สูงอายุ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 67.51
3. ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 13 , 14 , 20 , 21 และ 24 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563

  1. สถานที่ดำเนินการ ศาลาประชุมหมู่บ้านหมู่ที่ 5 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
  2. การเบิกจ่ายงบประมาณ เงินบำรุงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ซึ่งได้รับสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปันแต จำนวน 3,975 บาท (สามพันเก้าร้อยเจ็ดสิบห้าบาทถ้วน)    เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้ 9.1 กิจกรรม อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี” 9.1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากร และผู้จัด  จำนวน 55 คน x 1 มื้อๆ ละ x 25 บาท  เป็นเงิน 1,375 บาท 9.1.2 ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการจำนวน 50 แผ่นๆ ละ x0.50 บาท เป็นเงิน 25 บาท 9.1.3 ค่าถ่ายเอกสารแบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 แผ่นๆ ละ x 0.50 บาท เป็นเงิน 50 บาท 9.1.4 ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 แผ่นๆ ละ x 0.50 บาท เป็นเงิน 25 บาท 9.1.5 ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร เมตรๆ ละ 150 บาท จำนวน 1แผ่น x 450 เป็นเงิน 450 บาท 9.1.6 ค่าแปรงสีฟัน จำนวน 50 ด้ามๆละ x 10 บาท เป็นเงิน 500 บาท 9.1.7 ค่ายาสีฟัน จำนวน 50 หลอดๆละ x 16 บาท เป็นเงิน 800 บาท   9.1.8 ค่ากระเป๋าตาข่ายสำหรับใส่อุปกรณ์แปรงฟัน จำนวน 50ใบๆละ x 15 บาท
    เป็นเงิน 750 บาท 9.2 กิจกรรมเยี่ยมบ้านเชิงรุก โดยไม่ใช้งบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 3,975 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง 3,975 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท คิดเป็นร้อยละ -
  3. ผลที่ได้รับ 6.1 ผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจช่องปาก 6.2 ผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีความรู้ในการป้องกันโรคฟันผุและสามารถทำความสะอาดช่องปากหรือฟันเทียมได้อย่างถูกต้อง 6.3 ผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปสามารถตรวจช่องปากด้วยตนเองได้ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ผู้สูงอายุต้องการให้มรการจัดกิจกรรมทุกปี และให้นำอุปกรณ์เสริมที่ใช้ในการทำความสะอาดมาสาธิตเพิ่มเติมให้ผู้สูงอายุได้ฝึกปฏิบัติจริงด้วย แนวทางแก้ไข(ระบุ) วางแผนจัดซื้ออุปกรณ์เสริมที่ใช้ทำความสะอาดช่องปาก เช่น ไหมขดฟัน แปรงซอกฟัน แปรงกระจุกเดียว เพื่อนำมาให้ผู้สูงอายุทุกคนได้ฝึกใช้งานจริงๆ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถตรวจฟันด้วยตัวเองได้ 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถทำความสะอาดฟันแท้ และฟันเทียมได้ถูกวิธี 5.เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง 2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น 3.ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง 4.ผู้สูงอายุสามารถทำความสะอาดฟันแท้ และฟันเทียมได้ถูกวิธี 5.ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข และได้รับการวางแผนการรักษา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับอาหารที่มีผลต่อสุขภาพช่องปากเพิ่มมากขึ้น  3.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถตรวจฟันด้วยตัวเองได้ 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถทำความสะอาดฟันแท้ และฟันเทียมได้ถูกวิธี 5.เพื่อให้ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมส่งเสริมทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ “ผู้สูงวัยฟันสวย สุขภาพช่องปากดี”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh