กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. หลักการและเหตุผล จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศจีน และแพร่ระบาดไปในหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งอาการของโรค คือ มีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หอบเหนื่อย หรือมีอาการของโรคปอดอักเสบ ในรายที่มีอาการรุนแรง จะมีอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลว และอาจถึงขั้นเสียชีวิต ทั้งนี้ มีหลักฐานการติดต่อจากคนสู่คน โดยพบผู้ป่วยยืนยันในผู้ที่ไม่มีประวัติการเดินทางไปประเทศจีน แต่มีประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงและจังหวัดที่มีการระบาดของโรค ซึ่งมีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก จำนวน ๒๐๒ ประเทศ มีรายงานผู้ป่วยทั่วโลก 877,584 ราย เสียชีวิต ๔๓,๕๓๓ ราย สำหรับประเทศไทยพบผู้ป่วยติดเชื้อสะสม 1,771 ราย พบผู้เสียชีวิต 12 ราย (ข้อมูลจาก : รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 1 เมษายน 2563) โดยองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ เนื่องจากเชื้อดังกล่าวได้มีการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ส่วนในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข ได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด-19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โดยประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2563 เป็นต้นมา  ทั้งนี้ จากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรัฐบาลกำหนดให้มีมาตรการการกักตัว อย่างต่ำเป็นระยะเวลา 14 วัน เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน โดยการรณรงค์ “อสม.เคาะประตูบ้านต้านโควิด-19” ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๒ บ้านลำแพะ จึงเป็นกลไกสำคัญอย่างยิ่งที่จะดำเนินการเฝ้าระวัง คัดกรองผู้ที่มีอาการป่วยและเดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยง ให้ความรู้การป้องกันโรคแก่คนในพื้นที่ เพื่อป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชน 2.วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยง ที่จำเป็นต่อการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หมู่ที่ ๒ บ้านลำแพะ 2.2 เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ดูแล ติดตาม เฝ้าระวังโรคเบื้องต้น ลดการเกิดและการระบาดของโรคติดต่อในชุมชน 2.3 เพื่อสร้างองค์ความรู้ให้แก่ประชาชนทั่วไป และกลุ่มเสี่ยง เรื่องการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3.เป้าหมาย 3.1 ร้อยละ 80 มีการสำรวจกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยง ที่จำเป็นต่อการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หมู่ที่ ๒ บ้านลำแพะ 3.2 ร้อยละ 100 มีการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง ดูแล ติดตาม เฝ้าระวังโรคเบื้องต้น ลดการเกิดและการระบาดของโรคติดต่อในชุมชน 3.3 ร้อยละ 80 มีการสร้างองค์ความรู้ให้แก่ประชาชนทั่วไป และกลุ่มเสี่ยง เรื่องการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปากแจ่ม จำนวน ๒๖,๙๙๑ บาท รายละเอียด ดังนี้     8.1 เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกายระบบอินฟราเรด จำนวน ๒ อันๆละ 3,200 บาท เป็นเงิน ๖,๔00 บาท
8.2 ปรอทวัดไข้แบบดิจิตอล จำนวน 13 อันๆละ 250 บาท เป็นเงิน 3,250 บาท 8.3 ถุงมือยาง จำนวน ๒ กล่องๆละ 220 บาท เป็นเงิน ๔๔0 บาท 8.4 เจลล้างมือแอลกอฮอล์ ขนาด 100 ml.จำนวน 13 หลอดๆละ 150 บาท
  เป็นเงิน 1,950 บาท 8.5 อุปกรณ์ป้องกันตนเองสำหรับกลุ่มเสี่ยง จำนวน 20 ชุดๆละ 17๕ บาท เป็นเงิน 3,๕00 บาท - หน้ากากอนามัยแบบผ้า จำนวน 40 ชิ้นๆละ 20 บาท - เจลล้างมือแอลกอฮอล์ ขนาด 50 ml. จำนวน 20 หลอดๆละ 75 บาท - ปรอทวัดไข้แบบธรรมดา จำนวน 20 อันๆละ ๖๐ บาท
๘.๖ หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ จำนวน ๖ กล่องๆละ ๗๕๐ บาท เป็นเงิน ๔,๕๐๐ บาท 8.๗ เจลล้างมือแอลกอฮอล์ ขนาด 1,000 ml.จำนวน ๒ ขวดๆละ ๓๗๐ บาท เป็นเงิน ๗๔๐ บาท ๘.๘ แอลกอฮอล์ ขนาด ๔๕๐ ml. จำนวน ๒ ขวดๆละ ๓๘๐ บาท เป็นเงิน ๗๖๐ บาท 8.๙ สติ๊กเกอร์ อสม.เคาะประตูบ้าน จำนวน 21๗ อันๆละ 10 บาท เป็นเงิน 2,1๗0 บาท 8.๑๐ แบบฟอร์มคัดกรอง อสม.เคาะประตูบ้าน จำนวน 13 ชุดๆละ 2 บาท เป็นเงิน 26 บาท 8.๑๑ แผ่นพับให้ความรู้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำนวน 21๗ แผ่นๆละ
        15 บาท    เป็นเงิน 3,2๕๕ บาท
    รวมงบประมาณทั้งสิ้น ๒๖,๙๙๑ บาท

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ