กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง เป็นต้น ซึ่งเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบ ทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจัยการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป เช่น การมีกิจกรรมทางกายน้อย การบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของเกลือ และไขมันสูง การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ และการสูบบุหรี่ ซึ่งนำมาสู่ภาวะโรคที่เพิ่มขึ้น (กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, ๒๕๖๑; WHO, ๒๕๕๖) สำหรับสถานการณ์ความดันโลหิตสูงในประเทศไทย จากข้อมูลนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุขพบว่า อัตราการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน ในรอบ ๕ ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) เพิ่มขึ้นจาก ๑๒,๓๔๒.๑๔ (จำนวน ๓,๙๓๖,๑๗๑ คน) เป็น ๑๔,๙๒๖.๔๗ (จำนวน ๕,๕๙๗,๖๗๑ คน) และจากข้อมูลศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่าอัตราการป่วยใหม่ของโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน ในรอบ ๓ ปีที่ผ่านมา (๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) เพิ่มขึ้นจาก ๙๑๖.๘๙ (จำนวน ๕๔๐,๐๑๓ คน) เป็น ๑,๓๕๓.๐๑ (จำนวน ๘๑๓,๔๘๕ คน) (กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค, ๒๕๖๑)  และสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้รายงานสถานการณ์การป่วยเป็นโรคเบาหวานของคนไทย ระหว่างพ.ศ. ๒๕๕๕ กับ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพิ่มขึ้นจาก ๑๓.๒ ต่อแสนประชากร เพิ่มเป็น ๑๗.๘ ต่อแสนประชากร และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งสอดคล้องกับอัตราป่วยใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากรในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่ายาง ในระยะ ๓ ปี ที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปี พ.ศ.๒๕๖๐ เท่ากับ ๑๗๒.๘๔ ปี พ.ศ.๒๕๖๑ เพิ่มขึ้นเป็น ๒๔๒.๒๓ และในปี พ.ศ.๒๕๖๒ เพิ่มขึ้นเป็น ๓๓๘.๔๑ ตามลำดับ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา, ๒๕๖๓) โดยการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานยังก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ตามมา เช่น โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวว่านอกจากการบริการทางคลินิกแล้ว การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อดังกล่าว  ดังนั้นเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๘ ต.ท่าช้าง อ.บางกล่ำ จ.สงขลา จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง รวมทั้งโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง จึงได้จัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผสมผสานการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องถึงพฤติกรรมของการเกิดโรค และสามารถการจัดการตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรค ตลอดจนดำรงรักษาสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี และเกิดการปรับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ