กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.มีการให้บริการเชิงรุกที่บ้านโดยการขึ้นบ้านลงบ้านผู้ป่วย และให้บริการเชิงรับที่สถานบริการ 2.อสม.มีการติดตามกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก อสม.1คน/กลุ่มเป้าหมาย 6 คน และติดตามกลุ่มเป้าหมายที่รับบริการที่อื่นเพื่อติดตามความครอบคลุมของผลงาน
3.สตรีอายุ 30-70 ปี ได้รับความรู้และได้รับการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
4.อสม.สามารถให้ความรู้แก่สตรีอายุ ๓๐-60ปี เรื่องทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และให้มีการตรวจเต้านมอย่างสม่ำเสมอทุกๆ เดือน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาสตรีที่มีความผิดปกติของมะเร็งที่ปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
ตัวชี้วัด : 1.สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
0.00 20.66

 

2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายทุกคน ตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุกปี
ตัวชี้วัด : 2.สตรีอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมรายปีไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
0.00 92.68

 

3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 3.ลดอัตราป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะที่ 3 และระยะที่ 4
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาสตรีที่มีความผิดปกติของมะเร็งที่ปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายทุกคน ตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุกปี (3) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมให้ความรู้การป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม แก่กลุ่ม เป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่
        ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) ในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกส่วนใหญ่จะเป็นประชากรเดิมๆที่เคยมาตรวจ และจะมีอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งเป็นกลุ่มของประชากรไทยมุสลิมที่ยังไม่เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ซึ่งยังเขินอายที่จะได้รับการตรวจ ซึ่งต้องใช้เวลาในการอธิบายเหตุผล แนวทางการแก้ไข (ระบุ)
1.ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย พร้อมกับสร้างความไว้ใจให้กับประชาชนที่ยังไม่เคยได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก มาร่วมพูดคุยให้กลุ่มเป้าหมายได้รับฟัง
2.ให้ อสม.ติดตามกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบของตนเองมารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ประชาชนท่านใดสะดวกที่จะรับบริการตรวจคัดกรองนอกพื้นก็สามารถแจ้งผลการตรวจได้ที่ อสม.ในเขตรับผิดชอบ หรือ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. 3 กรณีประชาชนที่มีความเขินอายต่อเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ทางเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ได้ประสานกับเจ้าหน้าที่ที่อื่นมาให้บริการตรวจคัดกรองในช่วงของการรณรงค์

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh