กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เนื่องจากมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นในพื้นที่ตำบลลานข่อยเป็นจำนวนมาก ส่งผลให้สารเคมี/เวชภัณฑ์สำหรับใช้ในการป้องกันควบคุมโรคที่ซื้อไว้ไม่เพียงพอ ทั้งนี้ เมื่อมีผู้ป่วยไข้เลือดออกเกิดขึ้น หากไม่ได้มีการควบคุมอย่างทันท่วงที อาจจะส่งผลให้โรคแพร่กระจายออกไปอย่างกว้างขวางจนเกินกำลังที่จะควบคุม โดยปกติแล้วโรคไข้เลือดออกมักจะระบาดในฤดูฝน คือ ประมาณเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน หรือเดือนตุลาคมของทุกปี แต่ทั้งนี้สภาพภูมิอากาศในแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกัน จึงทำให้ช่วงเวลาที่โรคไข้เลือดออกระบาดอาจมีความแตกต่างกัน สิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับการควบคุมการระบาด เพื่อลดการแพร่กระจายของโรค คือ การเฝ้าระวังโรค (Disease Surveillance) ที่รวดเร็ว ถูกต้อง และครบถ้วน เพื่อให้รู้การเกิดโรคได้โดยรวดเร็วการเฝ้าระวังทางกีฏวิทยา (Vector Surveillance) การสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย การติดตามการเปลี่ยนแปลงประเภทแหล่งเพาะพันธุ์ที่สำคัญ (Key Container) ของยุงลาย การเฝ้าระวังเกี่ยวกับผู้ป่วยและเชื้อโดยศึกษาแนวโน้มของโรคเป็นสิ่งสำคัญ เทศบาลตำบลลานข่อย จึงได้จัดทำโครงการสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ของเทศบาลตำบลลานข่อย ประจำปีงบประมาณ 2563 ขึ้น เพื่อจัดหาสารเคมี/เวชภัณฑ์ให้เพียงพอสำหรับการควบคุมป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกที่กำลังระบาดในพื้นที่ตำบลลานข่อย
ตัวชี้วัด : หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับการสนับสนุนสารเคมี/เวชภัณฑ์ที่จำเป็นในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลลานข่อย
1.00

 

 

 

2 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลลานข่อย
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี 2563 ของพื้นที่ตำบลลานข่อย มีอัตราลดลง
1.00