กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ทั้ง ๓ กลุ่มวัย คือ กลุ่มผู้สูงอายุ วัยทำงาน เยาวชน โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ เพิ่มทักษะ สร้างความตระหนัก มีทัศนคติที่ดี เพื่อการมีสุขภาพที่ ลดเสี่ยงลดโรค และรวมถึงการป้องกันมั่วสุมต่างๆของเยาวชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้สูงอายุ มีสุขภาพจิต สุขภาพกายที่ดีขึ้น และได้ออกกำลังกายตามอันควร กลุ่มวัยทำงานมีความรู้ ลดปัจจัยเสี่ยงที่อาจป่วยด้วยโรคเรื้อรัง กลุ่มเยาวชน มีความรู้ มีทักษะ สามารถเอาตัวรอดได้จากภัยคุกคามต่างๆ ในปัจจุบัน
1.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทั้ง ๓ กลุ่มวัยหันมามีส่วนร่วมในการดูแลชุมชน ด้านต่างๆ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : หมู่บ้านสะอาดปราศจากขยะหรือแหล่งเพราะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจาระร่วง
1.00

 

3 เพื่อบูรณาการการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและสมาชิกในชุมชนแบบองค์รวมโดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มองค์กรต่างๆ เช่น อสม. กลุ่มชมรมต่างๆและหน่วยงานภาครัฐ โดยมีเป้าหมายเดียวกัน คือการสุขภาพที่ดีแก่คนในชุมชนทุกๆกลุ่มวัย และรวมถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมที่ดีด้วย
ตัวชี้วัด : กลุ่มองค์กรต่างๆ และหน่วยงานภาครัฐเข้ามาร่วมมือการดำเนินกิจกรรมต่างๆและต่อเนื่อง
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 15
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 5
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ทั้ง ๓ กลุ่มวัย คือ กลุ่มผู้สูงอายุ วัยทำงาน เยาวชน โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ เพิ่มทักษะ สร้างความตระหนัก มีทัศนคติที่ดี เพื่อการมีสุขภาพที่ ลดเสี่ยงลดโรค และรวมถึงการป้องกันมั่วสุมต่างๆของเยาวชน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทั้ง ๓ กลุ่มวัยหันมามีส่วนร่วมในการดูแลชุมชน ด้านต่างๆ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านขยะในชุมชน (3) เพื่อบูรณาการการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและสมาชิกในชุมชนแบบองค์รวมโดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มองค์กรต่างๆ เช่น อสม. กลุ่มชมรมต่างๆและหน่วยงานภาครัฐ โดยมีเป้าหมายเดียวกัน คือการสุขภาพที่ดีแก่คนในชุมชนทุกๆกลุ่มวัย และรวมถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมที่ดีด้วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะทำงาน (แกนนำ อสม.,ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้านแกนนำผู้สูงอายุ และแกนนำเยาวชน) (2) จัดฝึกอบรมให้ความรู้พัฒนาเสริมสร้างทักษะแก่กลุ่มผู้สูงอายุ/วัยทำงาน/และเยาวชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh