กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ได้สำรวจสุนัขและแมวในชุมชนอย่างทั่วถึง เพื่อได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ครบ 100 %
  2. ลดความเสี่ยงที่จะเกิดโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน การเกิดโรคพิษสุนัขบ้า เป็น 0
  3. ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า มากกว่าร้อยละ 80

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนมีความรู้ ทัศคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00 80.00

 

2 เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. อัตราการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัขและ แมวในชุมชนเป็น 0
0.00 0.00

 

3 เพื่อสร้างความตื่นตัวและกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด : 1. สุนัข และแมว ที่มีเจ้าของและไม่มีเจ้าของ ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าอย่างครอบคลุมครบ 100%
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 150 150
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนมีความรู้ ทัศคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า (2) เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชน (3) เพื่อสร้างความตื่นตัวและกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรค พิษสุนัขบ้าและการควบคุม ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า หมู่บ้านที่7 บ้านเขาแดง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ..ปัญหาการจัดการสุนัขจรจัดในชุมชนยังไม่ครอบคลุม ต้องประสานขอความร่วมมือ และช่วยเหลือจากปศุสัตว์อำเภอทุ่งหว้า ต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh